ข้ามไปเนื้อหา

ทองเนื้อเก้า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ทองเนื้อเก้า เป็นบทประพันธ์ของโบตั๋น มีเรื่องราวเกี่ยวกับลำยอง ตัวละครผู้หญิงขี้เมา สำส่อน ขี้เกียจ และวันเฉลิม ลูกชายของลำยองที่เปรียบเสมือนทองเนื้อแท้ที่ไม่ว่าจะอยู่ในที่แห่งหนใดก็ยังสามารถคงคุณงามความดีได้เสมอ

ประวัติ

[แก้]

นำมาทำเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 นำแสดงโดยอภิรดี ภวภูตานนท์ มารับบทลำยอง ร่วมด้วยโกวิท วัฒนกุล, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, สาวิตรี สามิภักดิ์, บุญส่ง ดวงดารา, จุรี โอศิริ, วิทยา สุขดำรงค์, จักรกฤษณ์ คชรัตน์

ถัดมาในปี พ.ศ. 2540 นำมาทำใหม่โดยได้รชนีกร พันธุ์มณี มารับบทลำยอง ร่วมด้วยนักแสดงอื่นอย่างบิลลี่ โอแกน, เจสัน ยัง, วันวิสาข์ ดำขำ, ปณิษฐา ตัณฑนาวิวัฒน์, เปียเชอร์ คริสเตนเซ่น, น้ำทิพย์ เสียมทอง, มยุริญ ผ่องผุดพันธุ์, อัจฉรา เหลืองสวัสดิ์, ครรชิต ขวัญประชา, อมรา อัศวนันท์, อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ โดยละครทั้ง 2 ฉบับผลิตโดยค่ายดาราวิดีโอ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และกำกับโดยมานพ สัมมาบัติ[1]

ในปี พ.ศ. 2556 กลับมาสร้างอีกครั้งออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 กำกับการแสดงโดยพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง รับบทลำยองโดยวรนุช ภิรมย์ภักดี[2] ร่วมด้วยณัฐวุฒิ สะกิดใจ, จิรายุ ตั้งศรีสุข, ชาตโยดม หิรัณยัษฐิติ, พิศาล อัครเศรณี, ธนากร โปษยานนท์, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา, ญาณี ตราโมท, อำภา ภูษิต, ชลิต เฟื่องอารมย์, โชติรส ชโยวรรณ, วิรากานต์ เสณีตันติกุล, ณฉัตร จันทพันธ์, อรรถพล เทศทะวงศ์, ณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์, ณิชชาพัณณ์ ชุณหะวงศ์วสุ, สุมณทิพย์ เหลืองอุทัย

นักแสดงในครั้งต่าง ๆ

[แก้]
ปี พ.ศ. 2530 2540 2556
สถานีออกอากาศ ช่อง 7 ช่อง 3
ผู้จัดละคร สุรางค์ เปรมปรีดิ์ พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
ผู้ผลิต ดาราวิดีโอ แอคอาร์ต เจเนเรชั่น
บทประพันธ์ โบตั๋น
บทโทรทัศน์ คนพวน (ยิ่งยศ ปัญญา) ลุลินารถ ยิ่งยศ ปัญญา
ผู้กำกับการแสดง มาวิน แดงน้อย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
วันเวลาออกอากาศ จันทร์-อังคาร 21.00 น. จันทร์-อังคาร 20.30 น.
ตัวละคร นักแสดงหลัก
ลำยอง อภิรดี ภวภูตานนท์ รัชนีกร พันธุ์มณี วรนุช ภิรมย์ภักดี
จ่าสันต์ โกวิท วัฒนกุล บิลลี่ โอแกน ณัฐวุฒิ สกิดใจ
พระวันเฉลิม พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง เจสัน ยัง จิรายุ ตั้งศรีสุข
ตัวละคร นักแสดงสมทบ
เสี่ยกวง (2530,2540)
คุณกวง (2556)
จิระศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ มาฬิศร์ เชยโสภณ ชาตโยดม หิรัณยัษฐิติ
กำนันเสือ เพิ่ม หงสกุล ชุมพร เทพพิทักษ์ พิศาล อัครเศรณี
เมืองเทพ สุนทร สุจริตฉันท์ อรรถชัย อนันตเมฆ ธนากร โปษยานนท์
แม่ปั้น พงษ์ลดา พิมลพรรณ อมรา อัศวนนท์ ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
พ่อสิน วิทยา สุขดำรงค์ ครรชิต ขวัญประชา ญาณี ตราโมท
ยายแล จุรี โอศิริ อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ อำภา ภูษิต
ตาปอ บุญส่ง ดวงดารา ชลิต เฟื่องอารมย์
หลวงตา เฉลิมศักดิ์ เสถียรกาล บุญส่ง ดวงดารา สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์
คุณยายวิมล เฉลา ประสพศาสตร์ รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง จารุวรรณ ปัญโญภาส
ลำยง ทัศนีย์ สีดาสมุทร วันวิสาข์ ดำขำ โชติรส ชโยวรรณ
ลำดวน ดวงหทัย ศรัทธาทิพย์ ปณิษฐา ตัณฑนาวิวัฒน์ วิรากานต์ เสณีตันติกุล
ปาน ณฉัตร จันทพันธ์
ชุด ภาสกร บวรกีรติ
แป้ง อรรถพล เทศทะวงศ์
เทวี ศิรินภา สว่างล้ำ เปียเชอร์ คริสเตนเซ่น พรรษชล สุปรีย์
ศรีวรรณ อารดา ศรีสร้อยแก้ว ณิชชาพัณณ์ ชุณหะวงศ์วสุ
น้าชื่น ชโลธร เกิดกำธร ลัดดาวัลย์ เรืองสำราญ พิมพ์พรรณ บูรณพิมพ์
ชม ดลพร ยรรยง
ละม่อม รตวรรณ ออมไธสง
วันเฉลิม บอย เนติลักษณ์ (วัยเด็ก)
จักรกฤษณ์ คชรัตน์ (วัยรุ่น)
อัครพล อังสุภูติพันธ์ (วัยเด็ก)
ชญตร์ มุกดาหาร (วัยรุ่น)
เมลิค เอเฟ่ ไอย์กูน (วัย 1 ปี)
ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์ (วัย 6 ปี)
ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ (วัย 12 ปี)
ตัวละคร นักแสดงรับเชิญ
สมฤดี สาวิตรี สามิภักดิ์ จุฑาทิพย์ ครุธามาศ ณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์
อ้อย ปัทมา ปานทอง น้ำทิพย์ เสียมทอง สุมณทิพย์ เหลืองอุทัย
จิตรา อัจฉรา เหลืองสวัสดิ์ ยุวิรัญญา สิงห์บุตราธนิธิ
คนลับมีด (สามีลำยอง) ทวีศักดิ์ ธนานันท์
ชายฝนตก (สามีลำยอง) พศิน เรืองวุฒิ
คนขับรถ (สามีลำยอง) ชวัลนันท์ จันทร์ทรัพย์
สมัย สุเชาว์ พงษ์วิไล
หมออ่ำ วิสรรค์ ฉัตรรังสิกุล
พ่อปู่ไสย์ วิศิษฐ์ ยุติยงค์
คุณซ้อ (ภรรยาคุณกวง) วราพรรณ หงุ่ยตระกูล
เจ๊ไฝ (เจ้าของบ่อน) จรรยา ธนาสว่างกุล
น้อย (ช่างทำผม) นริสา พรหมสุภา
อภิชาติ ดอน พฤกษ์พยุง อนวรรษ สกุลวงศ์ คณิน สแตนลีย์
เหน่ง เชษฐา สวนสุวรรณ ปณิธย์ โพธิสมภรณ์
อ้อย (วัยทารก) วิชญพร คุณาอนุวิทย์
สมฤดี (วัย 6 ปี) ปุญญาภา แสงหิรัญ
เหน่ง (วัยทารก) แอรอน อาชว เดนนิสัน
อภิชาติ (วัยเด็ก) อันดา อินทฤทธิ์
สมฤดี (วัยทารก) พิมพ์นลิน เพ็ชรไพโรจน์

รางวัลที่ได้รับ

[แก้]
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2530
รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการตัดสิน
รางวัลเมขลา ครั้งที่ 7[3]
ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น อภิรดี ภวภูตานนท์ ชนะ
ผู้แสดงประกอบชายดีเด่น วิทยา สุขดำรงค์ ชนะ
ผู้กำกับการแสดงดีเด่น มาวิน แดงน้อย ชนะ
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 2
ละครชีวิตดีเด่น ทองเนื้อเก้า ชนะ
ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น อภิรดี ภวภูตานนท์ ชนะ
ผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น มาวิน แดงน้อย ชนะ
บทละครดีเด่น คนพวน-ยิ่งยศ ปัญญา ชนะ
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2540
  • 1 ใน 5 ผู้เข้าชิงรางวัลเมขลา ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น (รชนีกร พันธุ์มณี) ปี 2540
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2556
รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการตัดสิน
เอ็มไทยท็อปทอล์กอะเบาต์ 2014
ละครที่ถูกกล่าวขวัญถึงมากที่สุด ทองเนื้อเก้า ชนะ
นักแสดงหญิงที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด วรนุช ภิรมย์ภักดี ชนะ
นักแสดงอาวุโสที่ถูกกล่าวขวัญถึงมากที่สุด ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา , อำภา ภูษิต ชนะ
บทบาทขโมยซีนที่ถูกกล่าวขวัญถึงมากที่สุด เมลิค เอเฟ่ ไอย์กูน, ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์, ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ ชนะ
รางวัลสีสันบันเทิงอวอร์ด 2013
ละครยอดเยี่ยม ทองเนื้อเก้า ชนะ
ผู้กำกับแห่งปี พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ชนะ
ดารานำชายยอดเยี่ยม ณัฐวุฒิ สะกิดใจ ชนะ
ดารานำหญิงยอดเยี่ยม วรนุช ภิรมย์ภักดี ชนะ
ดารานำชายยอดนิยม จิรายุ ตั้งศรีสุข ชนะ
ตัวจี๊ดหญิงแห่งปี ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา , อำภา ภูษิต ชนะ
ขวัญใจมหาชน เมลิค เอเฟ่ ไอย์กูน, ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์, ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ ชนะ
รางวัล The Nine Fever Awards 2014
Drama Fever ทองเนื้อเก้า ชนะ
Fever Awards เมลิค เอเฟ่ ไอย์กูน, ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์, ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ ชนะ

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11

ละครโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ทองเนื้อเก้า ชนะ
ผู้กำกับละครโทรทัศน์ยอดเยี่ยม พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ชนะ
บทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ยิ่งยศ ปัญญา ชนะ
นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม อำภา ภูษิต ชนะ
ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ณัฐวุฒิ สกิดใจ ชนะ
นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม วรนุช ภิรมย์ภักดี เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ ชนะ
รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 5
ละครยอดเยี่ยม ทองเนื้อเก้า ชนะ
ผู้กำกับยอดเยี่ยม พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ชนะ
บทโทรทัศน์ยอดเยี่ยม ยิ่งยศ ปัญญา ชนะ
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม ณัฐวุฒิ สกิดใจ ชนะ
นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม วรนุช ภิรมย์ภักดี ชนะ
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม ชลิต เฟื่องอารมย์ เสนอชื่อเข้าชิง
ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม อำภา ภูษิต ชนะ
เพลงละครยอดเยี่ยม คนแรกที่รัก เสนอชื่อเข้าชิง
กำกับภาพยอดเยี่ยม อชิระ ดำพลับ ชนะ
ลำดับภาพยอดเยี่ยม เสาวณิต สันตติวงศ์ไชย ชนะ
กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม ณรงค์ บุญบำรุง เสนอชื่อเข้าชิง
ทีมนักแสดงยอดเยี่ยม ทองเนื้อเก้า ชนะ

ดาราเดลี่ เดอะ เกรท อวอร์ดส์ ครั้งที่ 3

ละครที่สุดแห่งปี ปี 2557 ทองเนื้อเก้า ชนะ
ดารานำหญิง สาขาละครที่สุดแห่งปี 2557 วรนุช ภิรมย์ภักดี ชนะ

สยามดารา สตาร์ส อวอร์ดส์ 2014

ละครยอดเยี่ยม ทองเนื้อเก้า ชนะ
ละครยอดฮิต ทองเนื้อเก้า เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้กำกับยอดเยี่ยม สาขาละครโทรทัศน์ พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ชนะ
นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม สาขาละครโทรทัศน์ วรนุช ภิรมย์ภักดี เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบยอดเยี่ยม สาขาละครโทรทัศน์ อำภา ภูษิต เสนอชื่อเข้าชิง
จอมขโมยซีน เมลิค เอเฟ่ ไอย์กูน, ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์, ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ ชนะ
รางวัลพิฆเนศวร ครั้งที่ 3 ละครดีเด่น ทองเนื้อเก้า ชนะ
ผู้กำกับละครดีเด่น พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ชนะ
นักแสดงนำหญิงดีเด่นแห่งปี วรนุช ภิรมย์ภักดี ชนะ
นักแสดงดาวรุ่งชายดีเด่น ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์ ชนะ
นักแสดงสมทบหญิงดีเด่น อำภา ภูษิต เสนอชื่อเข้าชิง
International Drama Festival in TOKYO 2014 Special Foreign Drama Awards ทองเนื้อเก้า ชนะ

อ้างอิง

[แก้]
  1. ทองเนื้อเก้า
  2. นุ่น รับบท ลำยอง ปัดเลือกตัวพระเอก
  3. "3 ลำยอง จาก ทองเนื้อเก้า ทั้ง 3 ยุค". สนุก.คอม.