ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022
อาเรนากอมเบอตาเร ใน ติรานา จะเป็นเจ้าภาพสำหรับนัดชิงชนะเลิศ. | |||||||
รายการ | ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ฤดูกาล 2021–22 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||
วันที่ | 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 | ||||||
สนาม | อาเรนากอมเบอตาเร, ติรานา | ||||||
ผู้เล่นยอดเยี่ยม ประจำนัด | คริส สมอลลิง (โรมา)[1] | ||||||
ผู้ตัดสิน | อิสต์วัน คอวัคส์ (โรมาเนีย)[2] | ||||||
ผู้ชม | 19,597 คน[3] | ||||||
สภาพอากาศ | แดดจัด 23 องศาเซลเซียส (73 องศาฟาเรนไฮต์) 51% ความชื้นสัมพัทธ์[4] | ||||||
ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022 เป็นการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ฤดูกาล 2021–22, ฤดูกาลแรกของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรลำดับที่สามของยุโรป จัดขึ้นโดยยูฟ่า นัดนี้จะลงเล่นในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022) ที่ อาเรนากอมเบอตาเร ในเมือง ติรานา ประเทศแอลเบเนีย,[5][6] ระหว่างสโมสรจากอิตาลี โรมา และสโมสรจากเนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด.
ผู้ชนะจะมีสิทธิ์เข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มของ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2022–23, เว้นแต่พวกเขาจะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับแชมเปียนส์ลีกหรือยูโรปาลีกผ่านผลงานในลีกของพวกเขาแล้ว (ในกรณีนี้ที่รายการเข้าถึงจะได้รับการปรับสมดุล).
สนามแข่งขัน
[แก้]นี่จะเป็นแมตช์รอบชิงชนะเลิศยูฟ่าครั้งแรกที่จะลงเล่นที่ประเทศแอลเบเนีย. ที่นั่ง 21,690 อาเรนากอมเบอตาเร เป็นสนามเหย้าของ ทีมชาติแอลเบเนีย,เช่นเดียวกับสโมสร ดีนาโม ติรานา และ ปาร์ตีซานี. สนามกีฬาเริ่มก่อสร้างในปี 2559,[7] และเปิดในเดือนพฤศจิกายน ปี 2019.[8]
การคัดเลือกเป็นเจ้าภาพ
[แก้]ยูฟ่าเปิดตัวกระบวนการประมูลเพื่อเลือกสถานที่แข่งขันรอบชิงชนะเลิศของยูฟ่า ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ในปี 2022 และ 2023. สมาคมที่สนใจเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศมีเวลาจนถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 เพื่อยื่นเอกสารเสนอราคา.
ประเทศ | สนามกีฬา | เมือง | ความจุ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
แอลเบเนีย | อาเรนากอมเบอตาเร | ติรานา | 22,500 | เสนอตัวสำหรับ 2019 และ 2020 ยูฟ่าซูเปอร์คัพ |
[[|ฝรั่งเศส]] | สนามกีฬาฌอฟรัว กีชาร์ | แซ็งเตเตียน | 41,965 | แมตช์ที่ใช้เป็นเจ้าภาพฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984 และ 2016, ฟุตบอลโลก 1998, 2003 |
กรีซ | สนามกีฬาพันคริติโอ | ฮีราคลีออน | 26,240 | แมตช์ที่ใช้เป็นเจ้าภาพ การแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิก 2004 |
มาซิโดเนียเหนือ | ตอเช ปรอเอสกี อารีนา | สโกเปีย | 33,460 | เป็นเจ้าภาพจัด ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2017 |
สนาม อาเรนากอมเบอตาเร ได้ถูกรับเลือกโดยคณะกรรมการบริหารยูฟ่าระหว่างการประชุมของพวกเขาเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2020.[9][10][6][11]
เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ
[แก้]หมายเหตุ: ในตาราง, ผลการแข่งขันของผู้เข้าชิงชนะเลิศจะได้รับเป็นชื่อแรก (H = เหย้า; A = เยือน).
โรมา | รอบ | ไฟเยอโนร์ด | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คู่แข่งขัน | รวมผลสองนัด | นัดแรก | นัดที่สอง | รอบคัดเลือก | คู่แข่งขัน | รวมผลสองนัด | นัดแรก | นัดที่สอง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
บาย | รอบคัดเลือกรอบสอง | ดริตา | 3–2 | 0–0 (A) | 3–2 (H) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รอบคัดเลือกรอบสาม | ลูเซิร์น | 6–0 | 3–0 (A) | 3–0 (H) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทรับซอนสปอร์ | 5–1 | 2–1 (A) | 3–0 (H) | รอบเพลย์ออฟ | ไอเอฟ เอล์ฟสบอร์ก | 6–3 | 5–0 (H) | 1–3 (A) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คู่แข่งขัน | ผล | รอบแบ่งกลุ่ม | คู่แข่งขัน | ผล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ซีเอสเคเอ โซเฟีย | 5–1 (H) | นัดที่ 1 | มัคคาบีไฮฟา | 0–0 (A) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ซอร์ยา ลูแฮนส์ค | 3–0 (A) | นัดที่ 2 | สลาเวียปราฮา | 2–1 (H) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โบโด/กลิมต์ | 1–6 (A) | นัดที่ 3 | อูนีโอนแบร์ลีน | 3–1 (H) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โบโด/กลิมต์ | 2–2 (H) | นัดที่ 4 | อูนีโอนแบร์ลีน | 2–1 (A) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ซอร์ยา ลูแฮนส์ค | 4–0 (H) | นัดที่ 5 | สลาเวียปราฮา | 2–2 (A) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ซีเอสเคเอ โซเฟีย | 3–2 (A) | นัดที่ 6 | มัคคาบีไฮฟา | 2–1 (H) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชนะเลิศ กลุ่ม ซี
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า |
ตารางคะแนน | ชนะเลิศ กลุ่ม อี
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คู่แข่งขัน | รวมผลสองนัด | นัดแรก | นัดที่สอง | รอบแพ้คัดออก | คู่แข่งขัน | รวมผลสองนัด | นัดแรก | นัดที่สอง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
บาย | รอบแพ้คัดออกเพลย์ออฟ | บาย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ฟีเตสเซอ | 2–1 | 1–0 (A) | 1–1 (H) | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | ปาร์ติซาน | 8–3 | 5–2 (A) | 3–1 (H) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โบโด/กลิมต์ | 5–2 | 1–2 (A) | 4–0 (H) | รอบก่อนรองชนะเลิศ | สลาเวียปราฮา | 6–4 | 3–3 (H) | 3–1 (A) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เลสเตอร์ซิตี | 2–1 | 1–1 (A) | 1–0 (H) | รอบรองชนะเลิศ | มาร์แซย์ | 3–2 | 3–2 (H) | 0–0 (A) |
นัด
[แก้]รายละเอียด
[แก้]ทีม "เจ้าบ้าน" (สำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ) จะได้รับการกำหนดขึ้นโดยการจับสลากเพิ่มเติมเกิดขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ.
โรมา | 1–0 | ไฟเยอโนร์ด |
---|---|---|
|
รายงาน |
โรมา[4]
|
ไฟเยอโนร์ด[4]
|
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
|
ข้อมูลในการแข่งขัน[12]
|
ดูเพิ่ม
[แก้]- ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022
- ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022
- ยูฟ่าวิเมนส์แชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022
- ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2022
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ ผู้ช่วยผู้จัดการทีมโรมา ซัลวาตอเร ฟอติ ได้รับใบเหลืองหนึ่งใบ (59').
- ↑ แต่ละทีมจะได้รับสิทธิ์สามครั้งที่จะได้เปลี่ยนตัวผู้เล่น, กับโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่เกิดชึ้นในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนที่จะเริ่มต้นของช่วงต่อเวลาพิเศษและช่วงพักครึ่งเวลาแรกในการต่อเวลาพิเศษ.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Smalling named official UEFA Europa Conference League final Laufenn Player of the Match". UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 May 2022. สืบค้นเมื่อ 25 May 2022.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Referee teams appointed for 2022 UEFA club competition finals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 May 2022. สืบค้นเมื่อ 11 May 2022.
- ↑ 3.0 3.1 "Full Time Summary Final – Roma v Feyenoord" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 May 2022. สืบค้นเมื่อ 25 May 2022.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Tactical Lineups – Final – Wednesday 25 May 2022" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 May 2022. สืบค้นเมื่อ 25 May 2022.
- ↑ "UEFA Europa Conference League: all you need to know". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2 December 2020. สืบค้นเมื่อ 3 December 2020.
- ↑ 6.0 6.1 "Tirana to host first UEFA Europa Conference League Final". UEFA.com. Union of European Football Associations. 3 December 2020. สืบค้นเมื่อ 3 December 2020.
- ↑ "Fillon zyrtarisht prishja e stadiumit Qemal Stafa" [The demolition of Qemal Stafa Stadium has officially begun] (ภาษาแอลเบเนีย). Albanian Public Television. Albanian Public Television. 9 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2016. สืบค้นเมื่อ 9 June 2016.
- ↑ "2022 UEFA Europa Conference League final: Tirana". UEFA. 5 May 2022. สืบค้นเมื่อ 7 May 2022.
- ↑ "EPO plans to submit bid to host UEFA Europa Conference League final". AGONAsport. 28 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-18. สืบค้นเมื่อ 12 August 2020.
- ↑ "UEFA Executive Committee agenda for December meeting". UEFA.com. Union of European Football Associations. 27 November 2020. สืบค้นเมื่อ 27 November 2020.
- ↑ "Tirana to stage first Europa Conference League final in 2022". UEFA.com. Union of European Football Associations. 3 December 2020.
- ↑ "Regulations of the UEFA Europa Conference League, 2021/22 Season". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2021. สืบค้นเมื่อ 30 April 2021.