ข้ามไปเนื้อหา

ยุทธการที่โปรโฮรอฟกา

พิกัด: 51°2′11″N 36°44′11″E / 51.03639°N 36.73639°E / 51.03639; 36.73639
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่โปรโฮรอฟกา
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการที่คูสค์บนแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง

รถถังเยอรมันในช่วงปฏิบัติการซิทาเดล
วันที่
12 กรกฎาคม ค.ศ. 1943[a]
สถานที่51°2′11″N 36°44′11″E / 51.03639°N 36.73639°E / 51.03639; 36.73639
ผล

ทั้งสองฝ่ายต่างล้มเหลวในการบรรลุเป้าหมายของพวกเขา:[1][2]

  • เยอรมันได้รับชัยชนะทางยุทธศาสตร์[3][4][5][6]
  • โซเวียตได้รับชัยชนะในปฏิบัติการ[7][8][9]
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน  สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

II SS-Panzer Corps

5th Guards Tank Army[b]

Other units

กำลัง

German:

About 290 tanks and assault guns[i]

Soviet:

About 610 tanks and self-propelled guns[i]
ความสูญเสีย

German (on 12 July):

  • 43–80 tanks and assault guns destroyed or damaged.[j]

Soviet (on 12 July):

  • 300–400 tanks and self-propelled guns destroyed or damaged[j]
ยุทธการที่โปรโฮรอฟกาตั้งอยู่ในรัสเซีย
ยุทธการที่โปรโฮรอฟกา
Location of Prokhorovka within modern Russia
แม่แบบ:Campaignbox Kursk

ยุทธการที่โปรโฮรอฟกา เป็นการสู้รบเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1943[a] ใกล้กับโปรโฮรอฟกา, 87 กิโลเมตร (54 ไมล์) ทางตอนใต้ของเมืองคูสค์ในสหภาพโซเวียต ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เกิดขึ้นบนแนวรบด้านตะวันออก, การสู้รบครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่คูสค์ที่กว้างขวาง และเกิดขึ้นเมื่อกองทัพรถถังการ์ดที่ 5 ของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตได้เข้าโจมตีเหล่าแพนเซอร์-เอ็สเอ็สที่ 2 ของกองทัพเวร์มัคท์แห่งเยอรมัน ในหนึ่งของการสู้รบบนรถถังที่ขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ทางการทหาร

ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายเยอรมันได้เริ่มเตรียมความพร้อมสำหรับปฏิบัติการซิทาเดล วัตถุประสงค์ของการโอบล้อมและทำลายกองทัพโซเวียตในส่วนที่ยืดออกของคูสค์ โดยโจมตีและทำลายผ่านฐานทัพของส่วนที่ยืดออกจากทางเหนือและทางใต้พร้อมกัน การรุกของเยอรมันได้เกิดความล้าช้าหลายครั้งเนื่องจากความลังเลในการเป็นผู้นำและการเพิ่มเติมกองกำลังและการได้รับอาวุธยุโธปกรณ์ใหม่ๆ กองบัญชาการระดับสูงของโซเวียต สตาฟคา (Stavka) ได้รับรู้ถึงความตั้งใจของเยอรมัน และดังนั้นจึงใช้ความล่าช้าในการเตรียมความพร้อมสำหรับการสร้างแนวป้องกันตามเส้นทางของแผนการรุกรานของเยอรมันที่ได้กำหนดไว้ ผู้นำฝ่ายโซเวียตยังได้รวบรวมหลายกองทัพมาอยู่ในหลังแนวป้องกันคือกองหนุนสตาฟคา (Stavka Reserve) กองทัพกลุ่มนี้ แนวรบสเต็ปป์เป็นการเปิดฉากการโจมตีตอบโต้ เมื่อความแข็งแกร่งของเยอรมันได้อ่อนกำลังลง กองทัพรถถังการ์ดที่ 5 เป็นหน่วยยานเกราะหลักที่ก่อตั้งขึ้นของแนวรบสเต็ปป์

เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 กองทัพเวร์มัคได้เปิดฉากการรุกราน บนทางตอนเหนือของส่วนที่ยืดออก กองกำลังเยอรมันได้หยุดชะงักลงภายในสี่วัน บนทางตอนใต้ กองทัพแพนเซอร์ที่ 4 กับกองทัพ Detachment Kempf ของเยอรมันบนปีกฝั่งตะวันออก ได้เข้าจู่โจมการป้องกันโซเวียตของแนวรบโวโรเนช พวกเขาได้มีความล่าช้าแต่ก้าวเข้าไปอย่างอย่างต่อเนื่องผ่านแนวป้องกันโซเวียต

ภายหลังสัปดาห์ของการสู้รบ โซเวียตได้เปิดฉากการโจมตีโต้กลับของพวกเขา-ปฏิบัติการคูตูซอฟบนทางตอนเหนือและประจวบเหมาะกับทางตอนใต้ บนทางตอนใต้ของส่วนที่ยืดออกอยู่ใกล้กับโปรโฮรอฟกา กองทัพรถถังการ์ดที่ 5 ได้เผชิญหน้ากับเหล่าแพนเซอร์-เอ็สเอ็สที่ 2 ของกองทัพแพนเซอร์ที่ 4 ส่งผลทำให้มีการปะทะกันของยานเกราะขนาดใหญ่ กองทัพรถถังการ์ดที่ 5 ได้ประสบความสูญเสียกองกำลังที่สำคัญในการจู่โจม แต่ได้ประสบความสำเร็จในการป้องกันกองทัพเวร์มัคท์จากการเข้ายึดครองโปรโฮรอฟกา และทำลายผ่านแนวป้องกันสามแห่ง-สุดท้ายก็ได้รับการเสริมกำลังอย่างหนัก กองบัญชาการระดับสูงเยอรมัน ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ จึงตัดสินใจยกเลิกปฏิบัติการซิทาเดล และเริ่มโยกย้ายกำลังพลของกองกำลังเพื่อจัดการกับการพัฒนาใหม่ ๆอย่างกระชั้นชิดจากที่อื่น ๆ

กองทัพแดงต้องการการรุกแบบสามัญ ด้วยการดำเนินปฏิบัติการ Polkovodets Rumyantsev บนทางตอนใต้และปฏิบัติการคูตูซอฟได้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องในบนทางตอนเหนือ สหภาพโซเวียตได้ยึดความคิดริเริ่มทางยุทธศาสตร์บนแนวรบด้านตะวันออก ซึ่งจะต้องใช้เวลาที่เหลือของสงคราม

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Date of the Battle
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 5th GTA
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 2nd GTC
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 2nd TC
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 5th GMC
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 5th GA
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 10th TC
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 23rd GRC
  9. 9.0 9.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Opposing forces
  10. 10.0 10.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Casualties and losses

อ้างอิง

[แก้]
  1. Zetterling & Frankson 2000, p. 108, Excerpt reads: "If we take a look at how the front lines changed during these five days one could interpret it as some sort of success for the Germans ... However, if we compare the outcome with the German orders for the battle, which stated that Prokhorovka was the target, it is clear that the Germans fell short of their goals. The Red Army had hoped to push the II SS-Panzer Corps back and crush it. This failed completely, but at least the 5th Guards Tank Army prevented the Germans from taking Prokhorovka."
  2. Zamulin 2011, p. 561, Excerpt reads: "The counterattack [at Prokhorovka] did not achieve its basic goal. The [II SS-Panzer Corps] was not routed, but the further advance of the II SS-Panzer Corps beyond Prokhorovka was finally halted."
  3. Healy 2008, p. 347, Excerpt reads: "The clash was, when set against the much wider strategic backdrop of the offensive, no more than a local, tactical German victory. It was of no consequence or significance in helping to realise any of the wider offensive objectives of Operation Zitadelle, which was in any case by this date already a failure."
  4. Clark 2012, p. 408, Excerpt reads: "Even though II SS-Panzer Corps could claim to have won a tactical victory in the monumental armoured clash at Prokhorovka ... Hausser's men did not do enough to change the course of the operation."
  5. Showalter 2013, p. 269, Excerpt reads: "The Waffen-SS won a tactical victory on July 12."
  6. Nipe 2012, p. 86, Excerpt reads: "The small expansion of the Psel bridgehead by Totenkopf and the advances of Das Reich around the southern edges of Prochorovka were tactical victories at best and not decisive by any definition."
  7. Showalter 2013, p. 269, Excerpt reads: "Operationally, however, the palm rests with the Red Army."
  8. Zamulin 2011, p. 553, Excerpt reads: "The main task of a defender is to repulse an enemy attack ... A decisive breakthrough is what von Manstein had planned for 12 July via a regrouping of his forces. The [II SS-Panzer Corps] did not achieve this goal. Thus in sum, the forces of the Voronezh Front won the engagement at Prokhorovka, and then successfully completed the defensive operation, having created the conditions for a decisive counteroffensive."
  9. Glantz & House 2004, p. 272, Excerpt reads: "The numerous flank attacks orchestrated by the [Soviets] sapped the German strength, ..., permitted the timely arrival of Soviet operational and strategic reserves, and led directly to Soviet victory at Prokhorovka, in particular, and in Citadel as a whole."