ยุทธการที่เต๊กโตเสีย
ยุทธการที่เต๊กโตเสีย | |||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 狄道之戰 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 狄道之战 | ||||||
| |||||||
ยุทธการที่เจ้าเส (เถาซี) | |||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 洮西之戰 | ||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 洮西之战 | ||||||
ความหมายตามตัวอักษร | ยุทธการที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าซุย/เตียวซุย (เถาฉุ่ย) | ||||||
|
ยุทธการที่เต๊กโตเสีย (จีน: 狄道之戰) หรือ ยุทธการที่เจ้าเส (จีน: 洮西之戰) เป็นการรบระหว่างรัฐจ๊กก๊กและวุยก๊กในปี ค.ศ. 255 ในยุคสามก๊กของจีน ยุทธการสิ้นสุดด้วยชัยชนะของวุยก๊ก
โหมโรง
[แก้]ในปี ค.ศ. 255 เกียงอุยขุนพลของรัฐจ๊กก๊กตัดสินใจใช้โอกาสจากการเสียชีิวิตของสุมาสูผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งวุยก๊ก เปิดฉากการรบกับวุยก๊กอีกครั้ง ทัพที่ใช้บุกวุยก๊กครั้งนี้เป็นหนึ่งในทัพที่ใหญ่ที่สุดที่เกียงอุยรวบรวมได้ในการบุกขึ้นเหนือ รวมแล้วมีกำลังพล 30,000 นายเป็นอย่างน้อย[ต้องการอ้างอิง] รวมถึงแม่ทัพอย่างแฮหัวป๋าและเตียวเอ๊ก เป็นที่น่าสังเกตว่าทั้งแฮหัวป๋าและเตียวเอ๊กต่างดำรงตำแหน่งในการบริหารราขการพลเรือนสูงกว่าเกียงอุย แต่เกียงอุยขึ้นเป็นผู้บังคับบัญชาทั้งคู่ในการดำเนินการทางการทหาร แฮหัวป๋าเป็นพระญาติของราชวงศ์แห่งจ๊กก๊ก (หลานสาวสองคนของแฮหัวป๋าสมรสกับเล่าเสี้ยนจักรพรรดิแห่งจ๊กก๊ก) ด้านเตียวเอ๊กก็ถือว่าอาวุโสมากกว่าเกียงอุยและแฮหัวป๋าเพราะเตียวเอ๊กเคยรับราชการกับเล่าปี่จักรพรรดิผู้ก่อตั้งจ๊กก๊กมาก่อน ส่วนเกียงอุยและแฮหัวป๋าเพิ่งเข้าร่วมจ๊กก๊กหลังการสวรรคตของเล่าปี่ ระหว่างวันที่ 18 กันยายนและ 17 ตุลาคม ทัพของเกียงอุยเข้ายึดเปาสิว (枹罕 ฝูห่าน; ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอหลินเซี่ย มณฑลกานซู่ในปัจจุบัน) และรุดหน้าไปยังเต๊กโตเสีย (狄道 ตี๋เต้า; ปัจจุบันคืออำเภอหลินเถา มณฑลกานซู่)[2][3]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุทธการ
[แก้]ทัพวุยก๊กแตกพ่ายที่ด่านกู้กวาน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กลยุทธของวุยก๊กในการโต้กลับจ๊กก๊ก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กำลังเสริมมาถึงเต๊กโตเสีย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลสืบเนื่อง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
บุคคลในยุทธการ
[แก้]
ทัพวุยก๊ก |
ทัพจ๊กก๊ก
|
อ้างอิง
[แก้]บรรณานุกรม
[แก้]- ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). สามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อ).
- เผย์ ซงจือ (ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายสามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อจู้).
- ซือหม่า กวาง (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.
- Selected Examples of Battles in Ancient China Writing Team, Selected Examples of Battles in Ancient China, 1st Edition, published by Chinese Publishing House & Distributed by New China Bookstore Publishing House in Beijing, 1981 - 1984.
- Yuan, Tingdong, War in Ancient China, 1st Edition, published by Sichuan Academy of Social Science Publishing House & Distributed by New China Bookstore in Chengdu, 1988, ISBN 7-80524-058-2.
- Zhang, Xiaosheng, General View of War of Ancient China, 1st Edition in Xi'an, published by Long March Publishing House in Beijing & Distributed by New China Bookstore in Beijing, 1988, ISBN 7-80015-031-3 (set).