ข้ามไปเนื้อหา

การพิชิตง่อก๊กโดยราชวงศ์จิ้น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การพิชิตง่อก๊กโดยราชวงศ์จิ้น
ส่วนหนึ่งของ สงครามในยุคสามก๊ก

แผนที่แสดงการพิชิตง่อก๊กของจิ้น
วันที่ป. ธันวาคม ค.ศ. 279 หรือมกราคม ค.ศ. 280[a] – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 280[b]
สถานที่
จีนตอนใต้
ผล จิ้นชนะอย่างเด็ดขาด รวมชาติจีนภายใต้ราชวงศ์จิ้น
คู่สงคราม
ราชวงศ์จิ้น ง่อก๊ก
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กาอุ้น
องโยย
เตาอี้
อ๋องหยง
เฮาหุน
สุมาเตี้ยม
อองหุย
ซุนโฮ Surrendered
เตี๋ยวเค้า 
กำลัง
200,000 นาย[3] 230,000 นาย[4]
ความสูญเสีย
15,000 นาย[ต้องการอ้างอิง]
การพิชิตง่อก๊กโดยราชวงศ์จิ้น
อักษรจีนตัวเต็ม晉滅吳之戰
อักษรจีนตัวย่อ晋灭吴之战
การทัพไท่กาง
ภาษาจีน太康之役

การพิชิตง่อก๊กโดยราชวงศ์จิ้น เป็นการทัพโดยราชวงศ์จิ้นต่อง่อก๊กเมื่อช่วงปลาย ค.ศ. 279 ถึงกลาง ค.ศ. 280 ในช่วงปลายยุคสามก๊กของจีน การทัพที่เริ่มต้นในเดือนธันวาคม ค.ศ. 279 กรือมกราคม ค.ศ. 280[a] สิ้นสุดด้วยชัยชนะของราชวงศ์จิ้นในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 280[b] เมื่อจักรพรรดิซุนโฮแห่งง่อก๊กยอมจำนน หลังการทัพนี้ จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนแห่งราชวงศ์จิ้นเปลี่ยนชื่อศักราชของพระองค์จาก "Xianning" ไปเป็น "ไท่กาง" ทำให้การทัพนี้ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า การทัพไท่กาง[c]

ภูมิหลัง

[แก้]

สามก๊ก

[แก้]
แผนที่จีนที่แบ่งออกเป็นราชวงศ์จิ้น (น้ำเงิน) กับง่อก๊ก (แดง) ใน ค.ศ. 266

หลังราชวงศ์ฮั่นตะวันออกสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 220[6] สามรัฐที่สถาปนาขึ้นในจีนและช่วงชิงดินแดนเหนืออดีตจักรวรรดิฮั่น ในสามก๊กนี้ วุยก๊กมีอำนาจมากที่สุดในด้านกำลังใจทางทหาร ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ กำลังคน และขนาดทางภูมิศาสตร์ ส่วนง่อก๊กและจ๊กก๊กจัดตั้งพันธมิตรเพื่อกันวุยก๊กใน ค.ศ. 223[7]

จุดรุ่งเรืองของราชวงศ์จิ้น

[แก้]

การเตรียมการของจิ้น

[แก้]

สุมาเอี๋ยนเก็บความทะเยอทะยานที่จะพิชิตง่อก๊กเป็นเวลานาน เมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 269 เขาได้กำหนดสถานที่สามแห่งเป็นฐานจัดเตรียมการบุกรุก และมอบหมายงานให้กับนายพลสามคนดังนี้:

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 จือจื้อทงเจี้ยนบันทึกว่า ราชวงศ์จิ้นเริ่มต้นการรุกรานง่อก๊กในเดือน 11 ปีที่ 5 ของศักราช Xianning ในรัชสมัยสุมาเอี๋ยน[1] เดือนนี้ตรงกับวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 279 ถึง 18 มกราคม ค.ศ. 280 ในปฏิทินกริกอเรียน
  2. 2.0 2.1 จือจื้อทงเจี้ยนบันทึกว่า ซุนโฮทรงยอมจำนนในวัน renyin เดือน 3 ปีที่ 1 ของศักราช Taikang ในรัชสมัยสุมาเอี๋ยน[2] วันที่นี้ตรงกับวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 280 ในปฏิทินกริกอเรียน
  3. Lu Ji referred to the campaign as the "Taikang campaign" in his essay "Bian Wang Lun" (辯亡論), which discussed the reasons for Wu's fall.[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Zizhi Tongjian 1084, vol. 80: "[咸寧五年]冬,十一月,大舉伐吳"
  2. Zizhi Tongjian 1084, vol. 81: "[太康元年三月]壬寅, ...是日, ...吳主皓面縛輿櫬,詣軍門降。"
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Jin grand plan
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Wu assets
  5. (夫太康之役,衆未盛乎曩日之師 ...) "Bian Wang Lun" (Part 2).
  6. Zizhi Tongjian (1084), vol. 69.
  7. Zizhi Tongjian (1084), vol. 70.
  8. Zizhi Tongjian 1084, vol. 79: "帝有滅吳之志。[泰始五年三月]壬寅,以尚書左僕射羊祜都督荊州諸軍事,鎮襄陽;征東大將軍衞瓘都督青州諸軍事,鎮臨菑;鎮東大將軍東莞王伷都督徐州諸軍事,鎮下邳。"