ข้ามไปเนื้อหา

ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง

แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงเวลาที่ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2,ปฏิบัติการเป็นพื้นที่ขนาดเล็กสีส้มด้วยลูกศรสองเส้นในพื้นที่ของยูเครน
วันที่12–28 พฤษภาคม 1942 (16 วัน)
สถานที่
ผล ฝ่ายอักษะได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม
 เยอรมนี
อิตาลี
โรมาเนีย
 สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค
นาซีเยอรมนี ฟรีดริช เพาลุส
นาซีเยอรมนี Kurt Pflugbeil
สหภาพโซเวียต เซมิออน ตีโมเชนโค
กำลัง
350,000 men
1,000 tanks
~700 aircraft
765,300 men[1]
1,176 tanks
300 self-propelled cannons.[2]
926 aircraft[3]
ความสูญเสีย
~20,000 overall[4][5][6]
49 aircraft[7]
12 airmen killed[7]
98 airmen missing[7]
277,190 overall
170,958 killed, missing or captured
106,232 wounded[1][5]
2,086 guns
1,250 tanks[5]
542 aircraft[7]

ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2 เป็นการโจมตีตอบโต้ของฝ่ายอักษะในภูมิภาครอบๆของเมืองฮาร์คอฟ (ปัจจุบันคือคาร์คิฟ) ต่อสู้กับกองทัพแดงที่หัวสะพาน Izium การรุกได้ปฏิบัติการเมื่อวันที่ 12-28 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1942,ในแนวรบด้านตะวันออกในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.เป้าหมายคือการทำลายหัวสะพาน Izium บน Seversky Donets หรือ "Barvenkovo bulge" ซึ่งเป็นหนึ่งในพื้นที่การรุกรานของโซเวียต ภายหลังจากฤดูหนาวได้โจมตีตอบโต้ขับไล่ทหารเยอรมันออกไปจากกรุงมอสโกและกองกำลังสำรองของกองทัพแดงได้ลดลง การรุกที่ฮาร์คอฟเป็นความพยายามครั้งใหม่ของโซเวียตเพื่อริ่เริ่มขยายเชิงยุทธศาสตร์ของพวกเขา แม้ว่ามันจะล้มเหลวในการรักษาตัวประกอบสำคัญของการทำเซอรไพรส์

เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1942,กองทัพโซเวียตภายใต้บัญชาการของจอมพล เซมิออน ตีโมเชนโค ได้เริ่มการรุกต่อสู้กับกองทัพที่ 6 แห่งเยอรมันจากการจัดตั้งที่โดดเด่นระหว่างฤดูหนาวโจมตีตอบโต้.หลังจากสัญญาณได้เริ่มขึ้น,การรุกได้ถูกหยุดชะงักโดยการโจมตีโต้กลับของเยอรมัน. ข้อผิดพลาดที่สำคัญโดยเจ้าหน้าที่ทหารหลายคนและโจเซฟ สตาลิน ที่ล้มเหลวในการประเมินศักยภาพของกองทัพที่ 6 อย่างถูกต้องและประเมินกองกำลังของตนเองที่ได้รับการฝึกใหม่ ได้นำไปสู่การโจมตีแบบก้ามปูของเยอรมันซึ่งเป็นการตัดกองกำลังทหารโซเวียตที่บุกเข้ามาจากส่วนที่เหลือของแนวรบ.ปฏิบัติการดังกล่าวได้เป็นเหตุทำให้ทหารโซเวียตเสียชีวิตไป 3 แสนนายเมื่อเทียบกับกองทัพเยอรมันและพันธมิตรฝ่ายอักษะเสียชีวิตไปเพียง 2 หมื่นนาย

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Glantz (1995), p. 295
  2. Москаленко Кирилл Семёнович На Юго-Западном направлении. Воспоминания командарма. Книга I. — М.: Наука, 1969 – Под Харьковом в мае 1942 года เก็บถาวร 2009-12-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. Bergström 2007, p. 36.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Moskalenko218
  5. 5.0 5.1 5.2 Glantz (1998), p. 218
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Beevor67
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Hayward 1997, p. 27.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • Glantz (1995), p. 295
  • Москаленко Кирилл Семёнович На Юго-Западном направлении. Воспоминания командарма. Книга I. — М.: Наука, 1969 – Под Харьковом в мае 1942 года Archived 2009-12-23 at the Wayback Machine.
  • Bergström 2007, p. 36.
  • Moskalenko, p. 218
  • Glantz (1998), p. 218