ข้ามไปเนื้อหา

มารีโอ ตามัญโญ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มารีโอ ตามัญโญ
เกิด19 มิถุนายน พ.ศ. 2420
ตูริน อิตาลี
เสียชีวิตพ.ศ. 2484 (64 ปี)
สัญชาติอิตาลี
ศิษย์เก่าสถาบันศิลปะอัลแบร์ทีน[1]
ผลงานสำคัญ

มารีโอ ตามัญโญ (อิตาลี: Mario Tamagno, เกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2420 – พ.ศ. 2484) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี เกิดที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เข้ารับราชการในกระทรวงโยธาธิการแห่งประเทศสยามเมื่อปี พ.ศ. 2443 โดยมีสัญญาว่าจ้างเป็นเวลา 25 ปี

นายมารีโอ ตามัญโญ มีผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่สำคัญหลายแห่งในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่น สะพานมัฆวานรังสรรค์, พระที่นั่งอนันตสมาคม, วังปารุสกวัน, ท้องพระโรง วังสวนกุหลาบ, สถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง), ออเธอร์ส วิง โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ, บ้านพิษณุโลก (ชื่อเดิมคือ บ้านบรรทมสินธุ์), พระตำหนักเมขลารุจี ภายในพระราชวังพญาไท, ตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาลไทย (ชื่อเดิมคือ ตึกไกรสร), ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์ เป็นต้น[2]

ผลงานการออกแบบที่สำคัญ

[แก้]

ร่วมออกแบบกับ อันนิบาเล ริกอตติ (Annibale Rigotti)

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]