ภาษาไทหลอย
หน้าตา
ภาษาไทหลอย | |
---|---|
Mong Lue | |
ประเทศที่มีการพูด | พม่า, ลาว |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (5,000 คน อ้างถึง1995–2008)[1] |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | tlq |
ภาษาไทหหลอย หรือภาษาหลอย (Tai Loi) สื่อถึงภาษากลุ่มปะหล่องหลายภาษาที่มีผู้พูดโดยหลักในประเทศพม่า และมีเพียงไม่กี่ร้อยคนในประเทศลาว และส่วนหนึ่งในประเทศจีน Hall (2017) รายงานว่า ไทหลอย เป็นศัพท์ครอบคลุมที่หมายถึง 'ภูเขาไท' ในภาษาไทใหญ่และสื่อถึงภาษา Angkuic, Waic และปะหล่องตะวันตกมากกว่าภาษาหรือสาขาเดียว
นอกจากนี้ เอทโนล็อก (ฉบับที่ 21)[2] ที่อ้างข้อมูลจาก Schliesinger (2003) จัด Doi ใน Ban Muang เมืองสิงห์ แขวงหลวงน้ำทา ประเทศลาว เป็นวิธภาษาของภาษาไทหลอยที่เกือบสูญหายจากกลุ่มชาติพันธุ์ที่มี 600 คนและ 80 ครัวเรือน ณ ค.ศ. 2003 Schliesinger (2003) รายงานว่าคนชราที่พูดภาษา Doi สามารถเข้าใจภาษาสามเตา[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ภาษาไทหลอย ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- ↑ "Laos".
- ↑ Schliesinger, Joachim. 2003. Ethnic Groups of Laos. Vol. 2: Austro-Asiatic-Speaking Peoples. Bangkok: White Lotus Press.
- Hall, Elizabeth. 2017. On the Linguistic Affiliation of 'Tai Loi'. JSEALS vol. 10.2:xix-xxii.