ประเทศจาเมกา
จาเมกา Jamaica (อังกฤษ) | |
---|---|
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | คิงส์ตัน 17°58′17″N 76°47′35″W / 17.97139°N 76.79306°W |
ภาษาราชการ | อังกฤษ |
ภาษาประจำชาติ | ครีโอลจาเมกา (โดยพฤตินัย) |
กลุ่มชาติพันธุ์ (2011[3]) | |
ศาสนา |
|
การปกครอง | รัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ |
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 | |
แพทริก อัลเลน | |
แอนดรูว์ โฮลเนสส์ | |
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภา |
• สภาสูง | วุฒิสภา |
• สภาล่าง | สภาผู้แทนราษฎร |
เอกราช | |
• ได้รับ | 6 สิงหาคม ค.ศ. 1962 |
พื้นที่ | |
• รวม | 10,991 ตารางกิโลเมตร (4,244 ตารางไมล์) (อันดับที่ 160) |
1.5 | |
ประชากร | |
• 2018 ประมาณ | 2,726,667[5] (อันดับที่ 141) |
• สำมะโนประชากร 2011 | 2,697,983[6] |
266[7] ต่อตารางกิโลเมตร (688.9 ต่อตารางไมล์) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 26.981 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[8] (อันดับที่ 134) |
• ต่อหัว | 9,434 ดอลลาร์สหรัฐ[8] (อันดับที่ 109) |
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 15.424 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[8] (อันดับที่ 119) |
• ต่อหัว | $5,393[8] (อันดับที่ 95) |
จีนี (2016) | 35[9] ปานกลาง |
เอชดีไอ (2019) | 0.734[10] สูง · อันดับที่ 101 |
สกุลเงิน | ดอลลาร์จาเมกา (JMD) |
เขตเวลา | UTC-5 |
ขับรถด้าน | ซ้ายมือ |
รหัสโทรศัพท์ | +1-876 +1-658 (Overlay of 876; ใช้งานในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2018) |
โดเมนบนสุด | .jm |
จาเมกา (อังกฤษ: Jamaica; ครีโอลจาเมกา: Jumieka) เป็นประเทศที่เป็นเกาะในภูมิภาคเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กิโลเมตร และกว้าง 85 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน มีระยะห่าง 635 กิโลเมตร ไปทางตะวันออกของอเมริกากลางแผ่นดินใหญ่ มีระยะห่าง 150 กิโลเมตร ไปทางใต้ของคิวบา และ 180 กิโลเมตร ไปทางตะวันตกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งเป็นที่ตั้งของเฮติและสาธารณรัฐโดมินิกัน โดยมีหมู่เกาะเคย์แมนอยู่ห่างไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 215 กิโลเมตร เกาะจาเมกามีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามรองจากเกาะคิวบาและเกาะฮิสปันโยลา[11]
ศัพทมูลวิทยา
[แก้]ชื่อประเทศ "จาเมกา" นั้นมาจากการเรียกขานเกาะของชนพื้นเมืองตาอีโน (Taíno) ที่พูดภาษาอาราวัก (Arawakan) ที่เรียกเกาะนี้ว่า "ฌาเมคา" (Xaymaca) ซึ่งแปลได้เป็นสองความหมายคือ "ดินแดนแห่งใบไม้ผลิ" หรือ "แดนแห่งป่าและน้ำ" จาเมกาเคยตกอยู่ใต้อาณัติของจักรวรรดิสเปน ซึ่งเรียกเกาะนี้ว่า ซันเดียโก (Santiago) จากนั้นจึงตกอยู่ในการครอบครองของราชอาณานิคมอินดีสตะวันตกแห่งบริเตน (British Crown Colony of West Indies) ที่แปลงคำภาษาพื้นเมืองที่ใช้เรียกชื่อเกาะ จากฌาเมคา มาเป็นจาเมกาซึ่งกลายเป็นชื่อของเกาะและประเทศที่อยู่บนเกาะนั้นมาจนถึงทุกวันนี้ ประชากรของจาเมกาส่วนใหญ่ประกอบด้วยผู้สืบเชื้อสายมาจากทาสชาวแอฟริกา จาเมกายังเป็นประเทศที่ประชากรพูดและเขียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักมากที่สุดในทวีปอเมริกาทั้งเหนือ, กลางและใต้เป็นอันดับสาม รองจากสหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยทั่วไปแล้ว คนไทยมักอ่านออกเสียงผิดจาก "จาเมกา" เป็น "จาไมกา" (อ่านออกเสียงว่า จา-ไม-ก้า) เสียมากกว่
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Collins, Olive. "Welcome to Sligoville: The story of the Irish in Jamaica". The Irish Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 October 2019. สืบค้นเมื่อ 14 April 2020.
- ↑ "CIA World Factbook (Jamaica)". United States Government. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 January 2021. สืบค้นเมื่อ 15 May 2007.
- ↑ The CIA World Factbook – Jamaica เก็บถาวร 24 มกราคม 2021 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน . Retrieved 2015-09-16.
- ↑ "The World Factbook – Central Intelligence Agency". Cia.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 January 2021. สืบค้นเมื่อ 2017-09-25.
- ↑ "Data Query Total Population by sex (thousands)". UNITED NATIONS/DESA/POPULATION DIVISION. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2016. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.
- ↑ "Population Usually Resident in Jamaica, by Parish: 2011". Statistical Institute of Jamaica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 February 2020. สืบค้นเมื่อ 2019-12-28.
- ↑ "Data Query – Population density (persons per square km), as of 1 July". UNITED NATIONS/DESA/POPULATION DIVISION. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2016. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 8.3 "World Economic Outlook Database, October 2018". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 12 March 2019.
- ↑ "The World Factbook". CIA.gov. Central Intelligence Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 January 2021. สืบค้นเมื่อ 12 March 2019.
- ↑ Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 December 2020. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
- ↑ "CIA World Factbook – Jamaica". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 July 2018. สืบค้นเมื่อ 29 July 2019.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Ahmed, Faiz (2008). The Development Path Taken by Jamaica: A brief account of the islands natural-history, economic policies, and social conditions (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 3 October 2012. สืบค้นเมื่อ 2 April 2012. (pp. 45–83)
- Arbell, Mordehay (2000). The Portuguese Jews of Jamaica. Canoe Press. ISBN 978-976-8125-69-9.
- Ammar, N. "From Whence they came". Jamaica Journal.
- Bahadur, Gaiutra. Coolie Woman: The Odyssey of Indenture. The University of Chicago (2014), ISBN 978-0-226-21138-1
- Bernstein, Antje (2006). "English in Jamaica: The Coexistence of Standard Jamaican English and the English-based Jamaican Creole". English Language and Literature Studies. seminar paper. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 September 2015. สืบค้นเมื่อ 31 August 2015.
- Chapman, Valentine Jackson (1961). The marine algae of Jamaica: Myxophyceae and Chlorophyceae.
- Chapman, Valentine Jackson (1963). The marine Algae of Jamaica: Part II: Phaeophyceae and Rhodophyceae.
- Hall, D. "Bounties European Immigration with Special Reference of the German Settlement at Seaford Town, Parts 1 and 2". Jamaica Journal, 8, (4), 48–54 and 9 (1), 2–9.
- Issa, Suzanne (1994). Mr Jamaica, Abe Issa: a pictorial biography. S. Issa. ISBN 978-976-8091-69-7.
- Jacobs, H. P. (2003). Germany in Jamaica. Indian heritage in Jamaica. Jamaica Journal, 10, (2,3,4), 10–19,
- Mullally, R. (2003). "'One Love' The Black Irish of Jamaica". Jamaica Journal. 42: 104–116.
- Parboosingh, I.S. "An Indo-Jamaica beginning". Jamaica Journal. 18 (3): 2–10, 12.
- Senior, Olive (2003). Encyclopedia of Jamaican Heritage. Twin Guinep Publishers. ISBN 978-976-8007-14-8.
- Sherlock, Philip Manderson; Bennett, Hazel (1998). The Story of the Jamaican People. Ian Randle Publishers. ISBN 978-1-55876-145-2.
- Thomson, Ian (2009). The Dead Yard: Tales of Modern Jamaica. Nation Books. ISBN 978-0-571-22761-7.
- Williams, Joseph John (1932). Whence the "Black Irish" of Jamaica?. L. MacVeagh, Dial Press, Inc.
- The Gleaner. Seaford Town Advertising Feature. 14 August 2003, D7 เก็บถาวร 18 สิงหาคม 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน-D8 เก็บถาวร 18 สิงหาคม 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ข้อมูลรัฐบาล
- รัฐบาล
- Jamaica เก็บถาวร 2021-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at the Royal Family website
- Official website of the Jamaica Information Service
- สำนักงานคณะรัฐมนตรี เก็บถาวร 29 เมษายน 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Chief of State and Cabinet Members
- ข้อมูลทั่วไป
- Jamaica. The World Factbook. Central Intelligence Agency.
- Jamaica from UCB Libraries GovPubs
- ประเทศจาเมกา ที่เว็บไซต์ Curlie
- Jamaica from the BBC News
- Wikimedia Atlas of Jamaica
- ดูข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ประเทศจาเมกา ที่โอเพินสตรีตแมป
- National Library of Jamaica เก็บถาวร 13 ธันวาคม 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน materials in the Digital Library of the Caribbean
- JAMAICA VIRTUAL TOUR IN HD – many locations around the island
- Key Development Forecasts for Jamaica from International Futures