นาโอโตะ คัง
บทความนี้อาจขยายความได้โดยการแปลบทความที่ตรงกันในภาษาญี่ปุ่น (October 2022) คลิกที่ [ขยาย] เพื่อศึกษาแนวทางการแปล
|
นาโอโตะ คัง | |
---|---|
菅 直人 | |
ภาพถ่ายทางการ, ค.ศ. 2007 | |
นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น | |
ดำรงตำแหน่ง 8 มิถุนายน ค.ศ. 2010 – 2 กันยายน ค.ศ. 2011 | |
กษัตริย์ | อากิฮิโตะ |
ก่อนหน้า | ยูกิโอะ ฮาโตยามะ |
ถัดไป | โยชิฮิโกะ โนดะ |
หัวหน้าฝ่ายค้าน | |
ดำรงตำแหน่ง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1997 – 25 กันยายน ค.ศ. 1999 | |
นายกรัฐมนตรี | รีวตาโร ฮาชิโมโตะ เคโซ โอบูจิ |
ก่อนหน้า | อิจิโร โอซาวะ |
ถัดไป | ยูกิโอะ ฮาโตยามะ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังคนที่ 71 | |
ดำรงตำแหน่ง 6 มกราคม ค.ศ. 2010 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 2010 | |
นายกรัฐมนตรี | ยูกิโอะ ฮาโตยามะ |
ก่อนหน้า | ฮิโรฮิซะ ฟูจิอิ |
ถัดไป | โยชิฮิโกะ โนดะ |
รองนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น | |
ดำรงตำแหน่ง 16 กันยายน ค.ศ. 2009 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 2010 | |
นายกรัฐมนตรี | ยูกิโอะ ฮาโตยามะ |
ก่อนหน้า | วาตารุ คูโบะ (1996) |
ถัดไป | คัตสึยะ โอกาดะ (2012) |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง | |
ดำรงตำแหน่ง 16 กันยายน ค.ศ. 2009 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 2010 | |
นายกรัฐมนตรี | ยูกิโอะ ฮาโตยามะ |
ก่อนหน้า | โยชิมาซะ ฮายาชิ |
ถัดไป | ซาโตชิ อาราอิ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยผู้รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์ชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 16 กันยายน ค.ศ. 2009 – 6 มกราคม ค.ศ. 2010 | |
นายกรัฐมนตรี | ยูกิโอะ ฮาโตยามะ |
ก่อนหน้า | สถาปนาตำแหน่ง |
ถัดไป | โยชิโตะ เซ็งโงกุ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | |
ดำรงตำแหน่ง 16 กันยายน ค.ศ. 2009 – 6 มกราคม ค.ศ. 2010 | |
นายกรัฐมนตรี | ยูกิโอะ ฮาโตยามะ |
ก่อนหน้า | เซโกะ โนดะ |
ถัดไป | ทัตสึโอะ คาวาบาตะ |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการ | |
ดำรงตำแหน่ง 11 มกราคม ค.ศ. 1996 – 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 | |
นายกรัฐมนตรี | รีวตาโร ฮาชิโมโตะ |
ก่อนหน้า | ชูเรียว โมริอิ |
ถัดไป | จุนอิจิโร โคอิซูมิ |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จากโตเกียว | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 22 ตุลาคม ค.ศ. 2017 | |
ก่อนหน้า | มาซาตาดะ สึจิยะ |
เขตเลือกตั้ง | เขตที่ 18 |
คะแนนเสียง | 1,046 (0.44%) |
ดำรงตำแหน่ง 16 ธันวาคม ค.ศ. 2012 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 2017 | |
ก่อนหน้า | ฮิเดฮิโระ มิตานิ |
ถัดไป | ชุนซูเกะ อิโตะ |
เขตเลือกตั้ง | พื้นที่เลือกตั้งระบบสัดส่วนโตเกียว |
ดำรงตำแหน่ง 20 ตุลาคม ค.ศ. 1996 – 16 ธันวาคม ค.ศ. 2012 | |
ก่อนหน้า | สถาปนาเขตเลือกตั้ง |
ถัดไป | มาซาตาดะ สึจิยะ |
เขตเลือกตั้ง | เขตที่ 18 |
ดำรงตำแหน่ง 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 – 20 ตุลาคม ค.ศ. 1996 | |
ก่อนหน้า | คิโยชิ โอโนะ |
ถัดไป | ยุบเลิกเขตเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง | เขตที่ 7 |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | อูเบะ จังหวัดยามางูจิ จักรวรรดิญี่ปุ่น | 10 ตุลาคม ค.ศ. 1946
พรรคการเมือง | CDP |
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น | SDF (ก่อน ค.ศ. 1993) NPS (1993–1996) DPJ(96) (1996–1998) DPJ(98) (1998–2016) DP (2016–2017) |
คู่สมรส | โนบูโกะ คัง (สมรส 1970) |
บุตร | 2 |
ศิษย์เก่า | สถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียว |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
นาโอโตะ คัง (ญี่ปุ่น: 菅 直人; โรมาจิ: Kan Naoto; เกิดวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1946 — ) เป็นนักการเมืองชาวญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นและประธานพรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่น (DPJ) ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2010 ถึงกันยายน ค.ศ. 2011
คังเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ดำรงตำแหน่งมากกว่าหนึ่งปีนับตั้งแต่จุนอิจิโร โคอิซูมิลาออกใน ค.ศ. 2006 โดยยูกิโอะ ฮาโตยามะ ทาโร อาโซ ยาซูโอะ ฟูกูดะ และชินโซ อาเบะ ผู้ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขา ทั้งลาออกก่อนกำหนดหรือแพ้การเลือกตั้ง จากนั้นในวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 2011 คังประกาศลาออก ทำให้โยชิฮิโกะ โนดะได้รับเลือกเป็นผู้สืบทอด[1][2]
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 2012 พัน กี-มุน เลขาธิการสหประชาชาติ ประกาศให้คังเป็นหนึ่งในสมาชิกคณะกรรมาธิการระดับสูงของสหประชาชาติเกี่ยวกับวาระการพัฒนาหลัง ค.ศ. 2015[3]
ชีวิตช่วงต้นและการศึกษา
[แก้]คังเกิดที่อูเบะ จังหวัดยามางูจิ โดยเป็นบุตรคนโตของฮิซาโอะ คัง กรรมการบริหารบริษัทผลิตกระจก Central Glass[4] เขาจบการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียวใน ค.ศ. 1970 และกลายเป็นเบ็นริชิ (ตัวแทน/ทนายความด้านสิทธิบัตร) ที่มีใบอนุญาตใน ค.ศ. 1971
อาชีพสภาผู้แทนราษฎร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ชีวิตส่วนตัว
[แก้]คังแต่งงานกับโนบูโกะใน ค.ศ. 1970 โดยโนบูโกะจากจังหวัดโอกายามะมีความสัมพันธ์กับคังที่อาศัยในโตเกียวหลังเข้าเรียนที่วิทยาลัยสึดะ[5] การหมั้นหมายครั้งนี้ถูกคัดค้านจากผู้ปกครอง[6] เนื่องจากทั้งสองเป็นลูกของลุงหรือป้า[7] ทั้งคู่มีลูกชายสองคนชื่อเก็นตาโรและชินจิโร เก็นตาโรเป็นนักรณรงค์เพื่อสิทธิพลเมืองและแพ้การเลือกตั้งสภาล่างใน ค.ศ. 2003 และ 2005 ส่วนชินจิโรเป็นสัตวแพทย์และทำงานในโรงพยาบาลสัตว์ที่เขตเนริมะ โตเกียว[8]
คังได้รับการตั้งชื่อเล่นเป็น "อิระ-คัง" ("คังผู้หงุดหงิด") เนื่องจากชื่อเสียงในด้านโมโหง่าย[9] งานอดิเรกของเขาคือโกะ โชงิ และโอริกามิ[10] คังสร้างเครื่องจักรเพื่อคำนวณระบบแต้มไพ่นกกระจอกที่ซับซ้อนและได้ยื่นจดสิทธิบัตรใน ค.ศ. 1973[11][12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Yoree Koh (29 August 2011). "Noda, the DPJ and the Giant Snowball Problem". The Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ 29 August 2011.
- ↑ รัฐธรรมนูญญี่ปุ่นมาตราที่ 6
- ↑ Ban names high-level panel to map out 'bold' vision for future global development efforts UN News Centre. 31 July 2012. Retrieved 20 December 2013.
- ↑ Seijika Jinmei Jiten: Meiji-Shōwa. Nichigai Asoshiētsu (Shintei ed.). Nichigai Asoshiētsu. 2003. p. 192. ISBN 4-8169-1805-1. OCLC 54645851.
{{cite book}}
: CS1 maint: others (ลิงก์) - ↑ "Japan's new first lady known as eloquent, political comrade of Kan". Japan Today. Kyodo News. 9 June 2010. สืบค้นเมื่อ 6 April 2011.[ลิงก์เสีย]
- ↑ 基礎から分かる(菅直人). Yomiuri Shimbun (ภาษาญี่ปุ่น). 5 June 2010. สืบค้นเมื่อ 8 June 2010.
- ↑ Keating, Joshua (8 June 2010). "Japan's prime minister is married to his first cousin". Foreign Policy. สืบค้นเมื่อ 14 June 2010.
- ↑ ヒラミ動物病院 (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 February 2009. สืบค้นเมื่อ 8 June 2010.
- ↑ Demetriou, Danielle (4 June 2010). "Naoto Kan: profile". The Telegraph. London. สืบค้นเมื่อ 17 March 2011.
- ↑ "Kan: Activist, politico, mah-jongg lover". AsiaOne News. 5 June 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 March 2012. สืบค้นเมื่อ 8 June 2010.
- ↑ Hayashi, Yuka (4 June 2010). "Japan's Premier Aims for Longer Stay". The Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ 8 June 2010.
- ↑ Amano, Tomomichi (4 June 2010). "Kan and His Amazing Mahjong Machine". The Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ 29 September 2018.