ข้ามไปเนื้อหา

นอสคาพีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นอสคาพีน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่ออื่นNarcotine, nectodon, nospen, anarcotine
AHFS/Drugs.comInternational Drug Names
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • Contraindicated
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • AU: S2 (ในร้านยาเท่านั้น)
  • EU: BE, SE: OTC
  • In general: ℞ (Prescription only)
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล~30%
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ1.5–4 h (mean 2.5 h)
ตัวบ่งชี้
  • (3S)-6,7-Dimethoxy-3-[(5R)-5,6,7,8-tetrahydro-4-methoxy-6-methyl-1,3-dioxolo(4,5-g)isoquinolin-5-yl]-1(3H)-isobenzofuranone
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.004.455
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC22H23NO7
มวลต่อโมล413.426 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C2O[C@@H](c1ccc(OC)c(OC)c12)[C@@H]5N(C)CCc4c5c(OC)c3OCOc3c4
  • InChI=1S/C22H23NO7/c1-23-8-7-11-9-14-20(29-10-28-14)21(27-4)15(11)17(23)18-12-5-6-13(25-2)19(26-3)16(12)22(24)30-18/h5-6,9,17-18H,7-8,10H2,1-4H3/t17-,18+/m1/s1 checkY
  • Key:AKNNEGZIBPJZJG-MSOLQXFVSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

นอสคาพีน (อังกฤษ: noscapine, narcotine, nectodon, nospen, anarcotine หรือ (โบราณ) opiane) เป็นแอลคาลอยด์ในกลุ่มเบ็นซิลไอโซควิโนลินของกลุ่มโครงสร้างย่อยพาทาไลด์ไอโซควิโนลีน ซึ่งสามารถแยกได้จากสปีชีส์จำนวนมากในวงศ์ Papaveraceae (วงศ์ฝิ่น) ซึ่งไม่มีผลข้างเคียงที่เกี่ยวข้องกับสารกลุ่มโอปิออยด์ เช่น อาการง่วงซึม ภาวะเคลิ้มสุข หรือการระงับอาการปวด และไม่ทำให้เสพติด[1] นอสคาพีนถูกใช้เพื่อลดหรือระงับอาการไอ

ทางการแพทย์

[แก้]

นอสคาพีนมักใช้เป็นยาระงับอาการไอ[2] อย่างไรก็ตาม แนวปฏิบัติของประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 2012 ไม่แนะนำให้ใช้ยานี้กับอาการไอแบบเฉียบพลัน[3]

ผลข้างเคียง

[แก้]

การทำปฏิกิริยา

[แก้]

นอสคาพีนอาจเพิ่มผลของสารที่ออกฤทธิ์ต่อศูนย์กลางประสาท เช่นเดียวกับแอลกอฮอล์และยานอนหลับ[4]

ไม่ควรใช้ยานี้ร่วมกับยาในกลุ่ม MAOIs เพราะอาจเกิดผลข้างเคียงที่ไม่ทราบแน่ชัดและอาจถึงแก่ชีวิตได้[ต้องการอ้างอิง]

ไม่ควรใช้นอสคาพีนร่วมกับวาร์ฟาริน เนื่องจากอาจเพิ่มฤทธิ์ป้องกันการแข็งตัวของเลือดของวาร์ฟารินได้[5]

ดูเพิ่มเติม

[แก้]

เชิงอรรถและรายการอ้างอิง

[แก้]
  1. Altinoz MA, Topcu G, Hacimuftuoglu A, Ozpinar A, Ozpinar A, Hacker E, Elmaci İ (August 2019). "Noscapine, a Non-addictive Opioid and Microtubule-Inhibitor in Potential Treatment of Glioblastoma". Neurochemical Research. 44 (8): 1796–1806. doi:10.1007/s11064-019-02837-x. PMID 31292803.
  2. Singh H, Singh P, Kumari K, Chandra A, Dass SK, Chandra R (March 2013). "A review on noscapine, and its impact on heme metabolism". Current Drug Metabolism. 14 (3): 351–360. doi:10.2174/1389200211314030010. PMID 22935070.
  3. Verlee L, Verheij TJ, Hopstaken RM, Prins JM, Salomé PL, Bindels PJ (2012). "[Summary of NHG practice guideline 'Acute cough']". Nederlands Tijdschrift voor Geneeskunde. 156: A4188. PMID 22917039.
  4. Jasek, W, บ.ก. (2007). Austria-Codex (ภาษาเยอรมัน) (2007/2008 ed.). Vienna: Österreichischer Apothekerverlag. ISBN 978-3-85200-181-4.
  5. Ohlsson S, Holm L, Myrberg O, Sundström A, Yue QY (February 2008). "Noscapine may increase the effect of warfarin". British Journal of Clinical Pharmacology. 65 (2): 277–278. doi:10.1111/j.1365-2125.2007.03018.x. PMC 2291222. PMID 17875192.