ข้ามไปเนื้อหา

โอปิออยด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โอปิออยด์
ระดับชั้นของยา
โครงสร้างทางเคมีของมอร์ฟีน โอปิออยด์ต้นแบบ[1]
Class identifiers
ใช้ในบรรเทาอาการปวด
ATC codeN02A
Mode of actionตัวรับโอปิออยด์
External links
MeSHD000701
In Wikidata

โอปิออยด์ (อังกฤษ: opioid) เป็นสารที่เชื่อมกับโอปิออยด์ รีเซพเตอร์ (opioid receptor) พบในระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) และ ระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal tract) โอปิออยด์มี 4 กลุ่มคือ

  1. เกิดในกาย (endogenous) โอปิออยด์ เพปไทด์ (peptide) สารตัวนี้ผลิตขึ้นในร่างกายเรา
  2. โอเปียมอัลคะลอยด์เช่น มอร์ฟีน (morphine) และ โคดีอีน (codeine)
  3. โอปิออยด์กึ่งสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน (heroin) และ ออกซีโคโดน (oxycodone)
  4. โอปิออยด์สังเคราะห์ เช่น เพติดีน (pethidine)

และ เมตทาโดน (methadone) มีโครงสร้างสัมพันะกับ โอเปียมอัลคะลอยด์

โอปิออยด์มีตัวอย่างดังนี้

[แก้]

เอนโดเจนัส โอปิออยด์

[แก้]

โอปิออยด์-เพปไทด์ ผลิตในร่างกายมีดังนี้:

โอเปียม อัลคาลอยด์ (Opium alkaloids)

[แก้]

ฟีนันทรีน (Phenanthrene) เกิดตามธรรมชาติใน ฝิ่น:

อนุพันธ์กึ่งสังเคราะห์ (Semisynthetic derivatives)

[แก้]

โอปอยด์สังเคราะห์ (Synthetic opioids)

[แก้]

ฟีนิลเฮพทิลามีน (Phenylheptylamines)

[แก้]

ฟีนิลปิเปอริดีน (Phenylpiperidines)

[แก้]

อนุพันธ์ ไดฟีนิลโพรพิลามีน (Diphenylpropylamine derivatives)

[แก้]

อนุพันธ์ เบนโซมอร์แฟน (Benzomorphan derivatives)

[แก้]

อนุพันธ์ โอริพาวีน (Oripavine derivatives)

[แก้]

อนุพันธ์ มอร์ฟินัน (Morphinan derivatives)

[แก้]

อื่นๆ

[แก้]

โอปิออยด์ แอนตาโกนิสต์ (Opioid antagonists)

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Ogura T, Egan TD (2013). "Chapter 15 – Opioid Agonists and Antagonists". Pharmacology and physiology for anesthesia : foundations and clinical application. Philadelphia, PA: Elsevier/Saunders. ISBN 978-1-4377-1679-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]