ข้ามไปเนื้อหา

ฉบับร่าง:ตำบลท่ากุ่ม

พิกัด: 12°17′38.2″N 102°36′56.6″E / 12.293944°N 102.615722°E / 12.293944; 102.615722
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ตำบลท่ากุ่ม)
ตำบลท่ากุ่ม
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันTambon Tha Kum
ประเทศไทย
จังหวัดตราด
อำเภอเมืองตราด
พื้นที่
 • ทั้งหมด240.00 ตร.กม. (92.66 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)[1]
 • ทั้งหมด5,071 คน
 • ความหนาแน่น21.13 คน/ตร.กม. (54.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 23000
รหัสภูมิศาสตร์230111
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากุ่ม
อบต.ท่ากุ่มตั้งอยู่ในจังหวัดตราด
อบต.ท่ากุ่ม
อบต.ท่ากุ่ม
ที่ตั้งที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากุ่ม
พิกัด: 12°17′38.2″N 102°36′56.6″E / 12.293944°N 102.615722°E / 12.293944; 102.615722
ประเทศ ไทย
จังหวัดตราด
อำเภอเมืองตราด
พื้นที่
 • ทั้งหมด240.00 ตร.กม. (92.66 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)
 • ทั้งหมด5,071 คน
 • ความหนาแน่น21.13 คน/ตร.กม. (54.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.06230108
ที่อยู่ที่ทำการเลขที่ 165 หมู่ 1 ตำบลท่ากุ่ม อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000
เว็บไซต์thakum.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ท่ากุ่ม เป็นตำบลในอำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

ที่ตั้งและอาณาเขต

[แก้]

ตำบลท่ากุ่ม มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้[2]

ประวัติ

[แก้]

บ้านท่ากุ่มเดิมนั้นชื่อบ้านเนินระหงษ์ อยู่ในเขตปกครองตำบลท่าพริก ปี พ.ศ. 2490 ขุนสนิทประชาราษฎร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด ได้แยกพื้นที่หมู่ 5 บ้านจันทิ, หมู่ 6 บ้านเสม็ดแดง, หมู่ 7 บ้านท่ากุ่ม และหมู่ 8 บ้านทุ่งไก่ดัก ของตำบลท่าพริก รวม 4 หมู่บ้าน มาตั้งเป็น ตำบลท่ากุ่ม[3]

ปี พ.ศ. 2550 นายบุญช่วย เกิดสุคนธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด ได้แบ่งพื้นที่หมู่ 6 บ้านคลองขวาง แยกตั้งเป็นหมู่บ้านใหม่ เป็น หมู่ 8 บ้านเขาพลู[4]

การปกครองส่วนภูมิภาค

[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค

[แก้]

ตำบลท่ากุ่มแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้าน ได้แก่

  • หมู่ที่ 1 บ้านจันทิ
  • หมู่ที่ 2 บ้านเสม็ดแดง
  • หมู่ที่ 3 บ้านท่ากุ่ม
  • หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งไก่ดัก
  • หมู่ที่ 5 บ้านหนองปรือ
  • หมู่ที่ 6 บ้านคลองขวาง
  • หมู่ที่ 7 บ้านคลองขัด
  • หมู่ที่ 8 บ้านเขาพลู

การปกครองส่วนท้องถิ่น

[แก้]

ตำบลท่ากุ่มเดิมมีฐานะเป็นสภาตำบลท่ากุ่ม ในปี พ.ศ. 2517[5] ต่อมาปี พ.ศ. 2538 สภาตำบลท่ากุ่มมี 7 หมู่บ้าน พื้นที่ 240.00 ตารางกิโลเมตร ประชากร 3,610 คน และ 1,052 ครัวเรือน[6] ปี พ.ศ. 2539 กระทรวงมหาดไทยจึงพิจารณาให้สภาตำบลท่ากุ่มอยู่ในเงื่อนไขที่จะจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลได้ จึงได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลท่ากุ่ม[7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประชากรในเขตตำบลท่ากุ่ม อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด เดือนธันวาคม พ.ศ. 2566 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.
  2. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 38 ง): 1–35. วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2542
  3. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งตำบลในจังหวัดต่าง ๆ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 64 (26 ง): 1114–1433. วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2490
  4. "ประกาศจังหวัดตราด เรื่อง ตั้งและกำหนดเขตหมู่บ้าน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 124 (ตอนพิเศษ 45 ง): 96–98. วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2550
  5. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งสภาตำบลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๒๖ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 91 (87 ง): (ฉบับพิเศษ) 1–45. วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
  6. ประชากรรายตำบลในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2538 (เขตตำบลท่ากุ่ม อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด) สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2567
  7. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 113 (ตอนพิเศษ 52 ง): 1–365. วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539