ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

← กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2512 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน258,647
ผู้ใช้สิทธิ40.26%
  First party Second party Third party
 
ควง อภัยวงศ์ 2475.jpg
สุกิจ นิมมานเหมินทร์ (สุกิจ นิมมานเหมินท์).jpg
ผู้นำ ควง อภัยวงศ์ สุกิจ นิมมานเหมินทร์
พรรค ไม่สังกัดพรรค ประชาธิปัตย์ สหภูมิ
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
Field Marshal Plaek Phibunsongkhram.jpg
เมธ รัตนประสิทธิ์.jpg
ผู้นำ แปลก พิบูลสงคราม เมธ รัตนประสิทธิ์
พรรค เสรีมนังคศิลา เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

พจน์ สารสิน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ถนอม กิตติขจร
ชาติสังคม

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด ธันวาคม พ.ศ. 2500 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 4 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้ง

[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สหภูมิ บรรเจิด สายเชื้อ (1) 27,977
ไม่สังกัดพรรค ฉันท์ จันทชุม (5)* 25,944 ' '
ไม่สังกัดพรรค จรินทร์ สุวรรณธาดา (7)✔ 24,093 ' '
ประชาธิปัตย์ สมพร จุรีมาศ (11)* 20,708
สหภูมิ ชอ สายเชื้อ (6)✔ 19,980
สหภูมิ สุวัฒน์ พูลลาภ (2)✔ 18,146
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) เพชร จันทราช (27) 14,631
ไม่สังกัดพรรค อำนวย ชุปวา (15) 13,414
ประชาธิปัตย์ บำรุง พรหมชัยนันท์ (21) 12,895
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) อัมพร สุวรรณบล (16)* 11,507
ชาวนา ประวัติ สิงหธวัช (9) 11,364
สหภูมิ เทพเจริญ พูลลาภ (8)* 10,882
ประชาธิปัตย์ ประพันธ์ กลางท่าไคร่ (20) 10,220
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ (17) 9,968
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) อดุลย์ ภวภูตานนท์ (28) 9,302
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) สมชาติ ศรีทนา (25) 7,592
ไม่สังกัดพรรค นิวัฒน์ พูนศรี ศรีสุวรนันท์ (3)✔ 7,382
ไม่สังกัดพรรค ยงยุทธ นุกูลการ (10) 6,468
ประชาธิปัตย์ เริง สิงห์เสนา (22) 5,767
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) สังวาลย์ สุกุมาลพิทักษ์ (26) 4,899
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) สมพงษ์ สุวรรณบล (19) 3,313
สงเคราะห์อาชีพและการกุศล หม่อมราชวงศ์ อภินพ นวรัตน์ (4) 2,743
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) ผาด พูลลาภ (18) 2,584
ไม่สังกัดพรรค เสรี อิทธสมบัติ (24) 2,379
สังคมประชาธิปไตย วีระ จำปาทิพย์ (23) 2,168
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สหภูมิ ได้ที่นั่งจาก เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498)
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก เสรีมนังคศิลา
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498)
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเพิ่มเติม พ.ศ. 2501

30 มีนาคม พ.ศ. 2501

4 ที่นั่งเพิ่มเติมในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน263,557
ผู้ใช้สิทธิ42.83%
  First party Second party
 
Prime Minister Sarit Thanarat.jpg
ผู้นำ สฤษดิ์ ธนะรัชต์
พรรค ชาติสังคม ไม่สังกัดพรรค
ที่นั่งที่ชนะ 3 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1

การเลือกตั้งเพิ่มเติม 30 มีนาคม พ.ศ. 2501

[แก้]

หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2500 ก็ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 เพิ่มขึ้นเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 พ.ศ. 2501[2] ใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนคร, จังหวัดธนบุรี, จังหวัดกาฬสินธุ์, จังหวัดร้อยเอ็ด และ จังหวัดอุบลราชธานี กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2501 โดยจังหวัดร้อยเอ็ด แบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มอีก 4 คน แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 4 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้ง

[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติสังคม เทพเจริญ พูลลาภ (5)* 31,303
ชาติสังคม ชอ สายเชื้อ (6)✔ 31,151
ไม่สังกัดพรรค มานิต มาศเกษม (10) 30,452 ' '
ชาติสังคม เพชร จันทราช (4) 29,118
ชาติสังคม สุวัฒน์ พูลลาภ (3)✔ 24,419
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) อัมพร สุวรรณบล (12)* 20,299
ไม่สังกัดพรรค คำอ้าย วงศ์คำจันทร์ (1) 17,326
ไม่สังกัดพรรค อำนวย ชุปวา (15) 15,573
ประชาธิปัตย์ บำรุง พรหมชัยนันท์ (18) 15,010
ไม่สังกัดพรรค ประวัติ สิงหธวัช (11) 14,049
ไม่สังกัดพรรค สิงห์ ปกาสิทธิ์ (2) 8,641
ประชาธิปัตย์ ประพันธ์ กลางท่าไคร่ (17) 8,098
ไม่สังกัดพรรค พิมุข พระสว่าง (21) 6,369
ไม่สังกัดพรรค สมชาติ ศรีพนา (22) 5,487
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) ชาลี พลคชินทรานนท์ (8) 5,223
ไม่สังกัดพรรค นิยม โง่นค่ำ (16) 4,868
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) สังวาลย์ สุขมาลพิทักษ์ (7) 4,715
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) ทองฉัตร โคเวียง (14) 4,040
ประชาธิปัตย์ สง่า เวียงสงค์ (19) 3,880
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) ผาด พูลลาภ (13) 3,364
ไม่สังกัดพรรค เสรี อินธสมบัติ (20) 2,570
ศรีอารยะเมตไตรย สุคนธ์ ร่มแก้ว (9) 2,317
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ไม่สังกัดพรรค ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย เล่ม ๒. กองเลือกตั้ง ส่วนการทะเบียนและเลือกตั้ง กรมมหาดไทย. 2502
  2. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๑ เพิ่มแทนประเภทที่ ๒