ข้ามไปเนื้อหา

ขีปนาวุธทางยุทธวิธี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ขีปนาวุธทางยุทธวิธี (อังกฤษ: Tactical ballistic missile) หรือ TBM คือขีปนาวุธทิ้งตัวซึ่งออกแบบสำหรับการใช้งานพิสัยสั้นในสมรภูมิ ซึ่งมักมีพิสัยปฏิบัติการต่ำกว่า 300 กิโลเมตร ขีปนาวุธประเภทนี้มักติดตั้งบนรถบรรทุกเพื่อสามารถเคลื่อนที่ได้โดยสะดวก และสามารถติดตั้งหัวรบหลายหัวเพื่อโจมตีโครงสร้างพื้นฐานทางทหารและอาวุธยุทโธปกรณ์ของศัตรูไม่ว่าจะอยู่ในแนวหน้าหรือแนวหลังของสมรภูมิ

รายชื่อ

[แก้]
ชื่อทางการ ชื่อเรียก NATO เชื้อเพลิง พิสัย เปิดตัว ยุติผลิต ประเทศกำเนิด ผู้ใช้งาน
Al-Samoud 2 0160 180 กม. 2001 2003  อิรัก
Blue Water 1960 1962  สหราชอาณาจักร
MGM-140 ATACMS 0300 300 กม. 1986 2007 (แต่ยังมีประจำการ)  สหรัฐอเมริกา ธงของประเทศบาห์เรน บาห์เรน ธงของประเทศกรีซ กรีซ ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ธงของประเทศตุรกี ตุรกี ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
MGM-52 Lance เหลว 0120 120 กม. 1972 1992  สหรัฐอเมริกา  เบลเยียม  เยอรมนีตะวันตก  อิสราเอล  อิตาลี  เนเธอร์แลนด์  สหราชอาณาจักร
PGM-11 Redstone 92.5-323 กม. 1958 1964  สหรัฐอเมริกา
MGM-18 Lacrosse 19 กม. 1959 1964  สหรัฐอเมริกา
WS-1 0180 60–180 กม. ≈1990  จีน
DTI-1 0180 60–180 กม. 2015  ไทย
Grom (missile system) 0180 280–500 กม.  ยูเครน
Shaurya 1900 750-1,900 กม. 2011  อินเดีย
Prahaar 0150 150 กม. 2011  อินเดีย
Ghaznavi (missile) 0320290-320 กม. 2004  ปากีสถาน
Nasr/Hatf IX 006060 กม. 2013  ปากีสถาน
Abdali/Hatf-II 0180180 กม. 2002  ปากีสถาน
Hatf-I 0100 100 กม. 1990  ปากีสถาน
Sky Spear 0300 120-300 กม. 2001  ไต้หวัน
J-600T Yıldırım 0900 150–900 กม. 1998  ตุรกี
TOROS 0160 100–160 กม.  ตุรกี
T-300 Kasırga 0120 100-120กม.  ตุรกี
2K1 Mars แข็ง 0700 7-18 กม.  สหภาพโซเวียต
Scud A-D Scud เหลว 0700 180-700 กม. 1953  สหภาพโซเวียต
OTR-21 Tochka SS-21 Scarab 0185 70–185 กม. 1975  สหภาพโซเวียต ธงของประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย ธงของประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน ธงของประเทศเบลารุส เบลารุส ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย ธงของประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน ธงของประเทศซีเรีย ซีเรีย ธงของประเทศเยเมน เยเมน
อดีต:  เชโกสโลวาเกีย ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย  เยอรมนีตะวันออก ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ธงของประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย ธงของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
OTR-23 Oka SS-23 Spider 0120 500กม. 1979 1987  สหภาพโซเวียต
2K6 Luna Frog-3, Frog-5 0050 10–50 กม. 1960 1982  สหภาพโซเวียต  อัฟกานิสถาน  แอลจีเรีย  คิวบา  เยอรมนีตะวันออก  อียิปต์  อิรัก  ลิเบีย  เกาหลีเหนือ  โปแลนด์  โรมาเนีย  สหภาพโซเวียต  ซีเรีย  เยเมน  ยูโกสลาเวีย
9K52 Luna-M Frog-7 0050 70 กม. 1964  สหภาพโซเวียต ธงของประเทศแอลจีเรีย แอลจีเรีย ธงของประเทศอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน ธงของประเทศเบลารุส เบลารุส ธงของประเทศอียิปต์ อียิปต์  ลิเบีย ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศซีเรีย ซีเรีย ธงของประเทศยูเครน ยูเครน ธงของประเทศเยเมน เยเมน
อดีต ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย ธงของประเทศคิวบา คิวบา  เชโกสโลวาเกีย  เยอรมนีตะวันออก ธงของประเทศฮังการี ฮังการี ธงของประเทศอิรัก อิรัก ธงของประเทศคูเวต คูเวต  เลบานอน ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย  เยเมนใต้ ธงของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ยูโกสลาเวีย
LORA 0300 400 กม.[1] 2005  อิสราเอล
KN-02 Toksa 0160 120-160 กม. 2008  เกาหลีเหนือ
9K720 Iskander 0500 400-500 กม. 2006  รัสเซีย
Predator Hawk 0500 300 กม. 2016  อิสราเอล

อ้างอิง

[แก้]
  1. Israel Aerospace tests long-range LORA missile 20 Jun, 2017 12:36 Globes correspondent