สกั๊ด
หน้าตา
สกั๊ด (อังกฤษ: Scud) เป็นชื่อที่ใช้เรียกขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ของสหภาพโซเวียต ที่ผลิตขึ้นระหว่างสงครามเย็น และมีใช้อย่างแพร่หลายไปทั่วโลก มาจากชื่อที่นาโตใช้เรียกขีปนาวุธ R-11, R-17 และ R-300 เอลบรูส ของโซเวียต ว่า SS-1 Scud ปัจจุบันชื่อนี้ใช้เป็นชื่อรวมๆ ที่เรียกขีปนาวุธทั้งหลายที่พัฒนามาจากขีปนาวุธต้นแบบของโซเวียต ทั้งตระกูล Al-Hussein, Al-Abbas ที่พัฒนาโดยอิรัก ตระกูล Shahab ที่พัฒนาโดยอิหร่าน และ Hwasong, Rodong ที่พัฒนาโดยเกาหลีเหนือ
คุณสมบัติ
[แก้]รหัสเรียกขาน NATO | Scud-A | Scud-B | Scud-C | Scud-D |
---|---|---|---|---|
รหัสเรียกขานสหรัฐ | SS-1b | SS-1c | SS-1d | SS-1e |
ชื่อทางการ | R-11 | R-17/R-300 | ||
เริ่มใช้งาน | 1957 | 1964 | 1965? | 1989? |
ความยาว | 10.7 m | 11.25 m | 11.25 m | 12.29 m |
ความกว้าง | 0.88 m | 0.88 m | 0.88 m | 0.88 m |
น้ำหนัก | 4,400 kg | 5,900 kg | 6,400 kg | 6,500 kg |
ระยะทำการ | 150 km | 300 km | 575-600 km | 700 km |
น้ำหนักบรรทุก | 950 kg | 985 kg | 600 kg | 985 kg |
ความแม่นยำ | 4000 m | 900 m | 900 m | 50 m |
ประเทศที่มีใช้งาน
[แก้]ประเทศ และอดีตประเทศที่เคยครอบครองและใช้งานสกั๊ด และขีปนาวุธที่พัฒนามาจากสกั๊ด[1]
- อัฟกานิสถาน
- (Scud-B, Scud-C?)
- อาร์มีเนีย
- (Scud-B, Scud-C)
- อาเซอร์ไบจาน
- (Scud-B)
- เบลารุส
- (Scud-B) - ปลดประจำการ
- บัลแกเรีย
- (Scud-B)
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
- (Scud-B)
- เชโกสโลวาเกีย
- ปลดประจำการ
- เช็กเกีย
- (Scud-B) - ปลดประจำการ
- เยอรมนีตะวันออก
- ปลดประจำการ
- เอกวาดอร์
- (Scud-B)
- อียิปต์
- (Scud-B, Hwasong-6)
- ฮังการี
- (Scud-B) - ปลดประจำการ
- อิรัก
- (Scud-B, Al-Hussein, Al-Abbas)
- อิหร่าน
- (Scud-B, Hwasong-5, Shahab-1, Shahab-2)
- คาซัคสถาน
- (Scud-B)
- ลิเบีย
- (Scud-B)
- เกาหลีเหนือ
- (Scud-B, Hwasong-5, Hwasong-6, Rodong-1)
- เปรู
- (Scud-B)
- โปแลนด์
- (Scud-B) - ปลดประจำการ
- โรมาเนีย
- (Scud-B)
- รัสเซีย
- (Scud-B, Scud-C?, Scud-D?)
- เยเมนใต้
- ปลดประจำการ
- สหภาพโซเวียต
- กองทัพโซเวียต - ปลดประจำการ
- สโลวาเกีย
- (Scud-B)
- ซีเรีย
- (Scud-B, Hwasong-6)
- สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- Hwasong-5
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ซื้อ Hwasong-5 จำนวน 25 ลูกจากเกาหลีเหนือในปี 1989 แต่กองทัพไม่พอใจคุณภาพ จึงเก็บไว้ในคลังแสงโดยไม่นำออกมาใช้งาน[2] - ยูเครน
- (Scud-B)
- สหรัฐ
- Scud-B 3 ลูก และ TEL (Transporter Erector Launcher) 4 ชุด
สหรัฐยึดมาจากอิรักในปี 1995 และนำมาใช้เป็นเป้าทดสอบขีปนาวุธ โดยล็อกฮีดมาร์ติน[1] - เวียดนาม
- (Scud-B, Hwasong-6?)
- เยเมน
- (Scud-B)
อ้างอิง
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ สกั๊ด
- ↑ 1.0 1.1 "SS-1 `Scud' (R-11/8K11, R-11FM (SS-N-1B) and R-17/8K14)". Jane's Information Group. 26 April 2001. สืบค้นเมื่อ 2008-02-12.
- ↑ Bermudez, Joseph S. (1999). "A History of Ballistic Missile Development in the DPRK: First Ballistic Missiles, 1979-1989". James Martin Center for Nonproliferation Studies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-11-11. สืบค้นเมื่อ 2008-02-14.