ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาโปโลน้ำ
หน่วยงานฟีน่า
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน
หมายเหตุ: กีฬาสาธิตปีที่ระบุด้วยตัวเอียง

กีฬาโปโลน้ำ (อังกฤษ: Water Polo) ถือเป็นกีฬาที่เล่นเป็นทีมชนิดแรกๆที่เข้าสู่กีฬาโอลิมปิก ซึ่งได้รับการบรรจุเข้าในโอลิมปิก ในปี 1900 เป็นครั้งแรก ซึ่งมีการแข่งขันตลอดมาทุกครั้งจนถึงปัจจุบัน และในโอลิมปิกปี 2000 ที่ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย มีการแข่งขันโปโลน้ำหญิงเป็นครั้งแรก หลังจากที่ประเภทชายกลายมาเป็นกีฬาหลักของโอลิมปิกมากว่า 1 ศตวรรษ

ประเทศที่เข้าร่วม

[แก้]

ชาย

[แก้]
Nation 96 00 04 08 12 20 24 28 32 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 Games
 อาร์เจนตินา Y Y Y Y 4
 ออสเตรเลีย Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 15
 ออสเตรีย Y Y Y 3
 เบลเยียม Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 10
 บราซิล Y Y Y Y Y Y Y 7
 บัลแกเรีย Y Y 2
 แคนาดา Y Y Y Y 4
 ชิลี Y 1
 จีน Y Y Y 3
 โครเอเชีย Y Y Y Y Y Y 6
 คิวบา Y Y Y Y Y 5
 เชโกสโลวาเกีย Y Y Y Y Y 5
 เยอรมนีตะวันออก Y 1
 อียิปต์ Y Y Y Y Y 5
 ฝรั่งเศส 4[1] Y Y Y Y Y Y Y Y Y 10
 เยอรมนี Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 16
 สหราชอาณาจักร Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 11
 กรีซ Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 15
 ฮังการี Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 21
 ไอซ์แลนด์ Y 1
 อินเดีย Y Y 2
 อิหร่าน Y 1
 ไอร์แลนด์ Y Y 2
 อิตาลี Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 18
 ญี่ปุ่น Y Y Y Y Y Y 6
 คาซัคสถาน Y Y Y 3
 ลักเซมเบิร์ก Y 1
 มอลตา Y Y 2
 เม็กซิโก Y Y Y Y 4
 มอนเตเนโกร Y Y 2
 เนเธอร์แลนด์ Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 16
 โปรตุเกส Y 1
 โรมาเนีย Y Y Y Y Y Y Y Y 8
 รัสเซีย Y Y Y 3
 เซอร์เบีย Y Y Y 3
 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร Y Y Y 3
 สิงคโปร์ Y 1
 สโลวาเกีย Y 1
 แอฟริกาใต้ Y Y 2
 เกาหลีใต้ Y 1
 สหภาพโซเวียต Y Y Y Y Y Y Y Y Y 9
 สเปน Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 16
 สวีเดน Y Y Y Y Y Y Y Y 8
 สวิตเซอร์แลนด์ Y Y Y Y Y 5
 ยูเครน Y 1
 ทีมรวม Y 1
 สหรัฐ Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 20
 อุรุกวัย Y Y 2
 ยูโกสลาเวีย Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y Y 12
Nations 4 4 6 12 13 14 5 16 18 21 10 16 3 16 16 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12

หญิง

[แก้]
Nation 00 04 08 12 16 Games
 ออสเตรเลีย Y Y Y Y 4
 บราซิล Y 1
 แคนาดา Y Y 2
 จีน Y Y 2
 สหราชอาณาจักร Y 1
 กรีซ Y Y 2
 ฮังการี Y Y Y 3
 อิตาลี Y Y Y 3
 คาซัคสถาน Y Y 2
 เนเธอร์แลนด์ Y Y 2
 รัสเซีย Y Y Y Y 4
 สเปน Y 1
 สหรัฐ Y Y Y Y 4
Nations 6 8 8 8 8

ผลการแข่งขัน

[แก้]

ชาย

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่ 3 จำนวนทีม
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับที่ 4
1900
รายละเอียด
ประเทศฝรั่งเศส
Paris

บริเตนใหญ่

(Osborne Swimming Club)
7–2
เบลเยียม
(Brussels Swimming and Water Polo Club)

ฝรั่งเศส
(Libellule de Paris)

ฝรั่งเศส
(Pupilles de Neptune de Lille #2)
[2] 8
1904
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
St. Louis
Water polo tournament was only demonstration sport Water polo tournament was only demonstration sport
1908
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London

บริเตนใหญ่
9–2
เบลเยียม

สวีเดน
[3]
เนเธอร์แลนด์
4
1912
รายละเอียด
ประเทศสวีเดน
Stockholm

บริเตนใหญ่
8–0
สวีเดน

เบลเยียม
5–4
ออสเตรีย
6
1920
รายละเอียด
ประเทศเบลเยียม
Antwerp

บริเตนใหญ่
3–2
เบลเยียม

สวีเดน
5–0
สหรัฐ
12
1924
รายละเอียด
ประเทศฝรั่งเศส
Paris

ฝรั่งเศส
3–0
เบลเยียม

สหรัฐ
3–2
สวีเดน
13
1928
รายละเอียด
ประเทศเนเธอร์แลนด์
Amsterdam

เยอรมนี
5–2
ฮังการี

ฝรั่งเศส
8–1
บริเตนใหญ่
14
1932
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
Los Angeles

ฮังการี
Round-robin
เยอรมนี

สหรัฐ
Round-robin
ญี่ปุ่น
5
1936
รายละเอียด
ประเทศเยอรมนี
Berlin

ฮังการี
Round-robin
เยอรมนี

เบลเยียม
Round-robin
ฝรั่งเศส
16
1948
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London

อิตาลี
Round-robin
ฮังการี

เนเธอร์แลนด์
Round-robin
เบลเยียม
18
1952
รายละเอียด
ประเทศฟินแลนด์
Helsinki

ฮังการี
Round-robin
ยูโกสลาเวีย

อิตาลี
Round-robin
สหรัฐ
21
1956
รายละเอียด
ประเทศออสเตรเลีย
Melbourne

ฮังการี
Round-robin
ยูโกสลาเวีย

สหภาพโซเวียต
Round-robin
อิตาลี
10
1960
รายละเอียด
ประเทศอิตาลี
Rome

อิตาลี
Round-robin
สหภาพโซเวียต

ฮังการี
Round-robin
ยูโกสลาเวีย
16
1964
รายละเอียด
ประเทศญี่ปุ่น
Tokyo

ฮังการี
Round-robin
ยูโกสลาเวีย

สหภาพโซเวียต
Round-robin
อิตาลี
13
1968
รายละเอียด
ประเทศเม็กซิโก
Mexico City

ยูโกสลาเวีย
13–11 (aet)
สหภาพโซเวียต

ฮังการี
9–4
อิตาลี
15
1972
รายละเอียด
ประเทศเยอรมนีตะวันตก
Munich

สหภาพโซเวียต
Round-robin
ฮังการี

สหรัฐ
Round-robin
เยอรมนีตะวันตก
16
1976
รายละเอียด
ประเทศแคนาดา
Canada

ฮังการี
Round-robin
อิตาลี

เนเธอร์แลนด์
Round-robin
โรมาเนีย
12
1980
รายละเอียด
สหภาพโซเวียต
Moscow

สหภาพโซเวียต
Round-robin
ยูโกสลาเวีย

ฮังการี
Round-robin
Spain
12
1984
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
Los Angeles

ยูโกสลาเวีย
Round-robin
สหรัฐ

เยอรมนีตะวันตก
Round-robin
สเปน
12
1988
รายละเอียด
ประเทศเกาหลีใต้
Seoul

ยูโกสลาเวีย
9–7
สหรัฐ

สหภาพโซเวียต
14–13
เยอรมนีตะวันตก
12
1992
รายละเอียด
ประเทศสเปน
Barcelona

อิตาลี
9–8 (aet)
สเปน

Unified Team
8–4
สหรัฐ
12
1996
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
Atlanta

สเปน
7–5
โครเอเชีย

อิตาลี
20–18 (aet)
ฮังการี
12
2000
รายละเอียด
ประเทศออสเตรเลีย
Sydney

ฮังการี
13–6
รัสเซีย

ยูโกสลาเวีย
8–3
สเปน
12
2004
รายละเอียด
ประเทศกรีซ
Athens

ฮังการี
8–7
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

รัสเซีย
6–5
กรีซ
12
2008
รายละเอียด
ประเทศจีน
Beijing

ฮังการี
14–10
สหรัฐ

เซอร์เบีย
6–4
มอนเตเนโกร
12
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London

โครเอเชีย
8–6
อิตาลี

เซอร์เบีย
12–11
มอนเตเนโกร
12
2016
รายละเอียด
ประเทศบราซิล
Rio de Janeiro
12[4]
2020
รายละเอียด
ประเทศญี่ปุ่น
Tokyo

หญิง

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่ 3 จำนวนทีม
เหรียญทอง คะแนน เหรียญเงิน เหรียญทองแดง คะแนน อันดับที่ 4
2000
รายละเอียด
ประเทศออสเตรเลีย
Sydney

ออสเตรเลีย
4–3
สหรัฐ

รัสเซีย
4–3
เนเธอร์แลนด์
6
2004
รายละเอียด
ประเทศกรีซ
Athens

อิตาลี
10–9 (aet)
กรีซ

สหรัฐ
6–5
ออสเตรเลีย
8
2008
รายละเอียด
ประเทศจีน
Beijing

เนเธอร์แลนด์
9–8
สหรัฐ

ออสเตรเลีย
9–9 (aet)
(3–2) (ps)

ฮังการี
8
2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
London

สหรัฐ
8–5
สเปน

ออสเตรเลีย
13–11 (aet)
ฮังการี
8
2016
รายละเอียด
ประเทศบราซิล
Rio de Janeiro
8[4]
2020
รายละเอียด
ประเทศญี่ปุ่น
Tokyo

สรุปเหรียญรางวัลโปโลน้ำตลอดกาล

[แก้]
 อันดับ  ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1  ฮังการี 8 3 3 14
2  อิตาลี 4 1 2 7
3  สหราชอาณาจักร 4 0 0 4
4  ยูโกสลาเวีย 3 4 1 8
5  สหภาพโซเวียต 2 2 3 7
6  เยอรมนี 1 2 0 3
7  สเปน 1 1 0 2
8  ฝรั่งเศส 1 0 3 4
9  ออสเตรเลีย 1 0 0 1
10  เบลเยียม 0 4 2 6
11  สหรัฐ 0 3 4 7
12  รัสเซีย 0 1 2 3
 สวีเดน 0 1 2 3
14  โครเอเชีย 0 1 0 1
 กรีซ 0 1 0 1
 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 0 1 0 1
17  เนเธอร์แลนด์ 0 0 2 2
18  ทีมรวม 0 0 1 1
 เยอรมนีตะวันตก 0 0 1 1

อ้างอิง

[แก้]
  1. France had four teams compete in 1900. Bronze medals were given to the losers of both semifinals; France took both bronze.
  2. There was no bronze medal match for the 1900 Games in Paris.
  3. There was no bronze medal match for the 1908 Games in London. Belgium beat Netherlands in the only one first round match and beats Sweden in the only one semifinal.
  4. 4.0 4.1 Qualification System เก็บถาวร 2014-07-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, fina.org