ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 2024

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โปโลน้ำ
ในโอลิมปิกครั้งที่ 33
สนามศูนย์กีฬาทางน้ำปารีส (รอบคัดเลือก)
ปารีส ลา เดฟองซ์ อารีน่า (รอบชิงชนะเลิศ)
วันที่27 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม ค.ศ. 2024
จำนวนรายการ2 (ชาย 1, หญิง 1)
จำนวนนักกีฬา286 คน จาก 15 ประเทศ
← 2020
2028 →

การแข่งขันกีฬาโปโลน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีกำหนดเริ่มตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคมถึง 11 สิงหาคม ค.ศ. 2024[1][2] การแข่งขันโปโลน้ำรอบคัดเลือกจะจัดขึ้นที่ศูนย์กีฬาทางน้ำปารีส โดยรอบตัดเชือกรอบชิงชนะเลิศจะจัดขึ้นที่ปารีส ลา เดฟองซ์ อารีน่าที่มีชื่อเสียง เช่นเดียวกับการแข่งขันครั้งก่อน มีทีมทั้งหมด 22 ทีม (12 ทีมสำหรับผู้ชาย และ 10 ทีมสำหรับผู้หญิง) จะแข่งขันกันเองในการแข่งขันรายการของตน[3][4]

การคัดเลือก

[แก้]

สรุปการคัดเลือก

[แก้]
ชาติ ชาย หญิง นักกีฬา
ออสเตรเลีย Yes Yes 26
แคนาดา Yes 13
จีน Yes 13
โครเอเชีย Yes 13
ฝรั่งเศส Yes Yes 26
กรีซ Yes Yes 26
ฮังการี Yes Yes 26
อิตาลี Yes Yes 26
ญี่ปุ่น Yes 13
มอนเตเนโกร Yes 13
เนเธอร์แลนด์ Yes 13
โรมาเนีย Yes 13
เซอร์เบีย Yes 13
สเปน Yes Yes 26
สหรัฐ Yes Yes 26
รวม: 15 NOC 156 130 286

รอบคัดเลือกทีมชาย

[แก้]
การคัดเลือก วันที่ เจ้าภาพ โควต้า ผ่านการคัดเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 13 กันยายน 2017 เปรู ลิมา 1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2023 17–29 กรกฎาคม ค.ศ. 2023 ญี่ปุ่น ฟุกุโอกะ 2 ธงชาติฮังการี ฮังการี
ธงชาติกรีซ กรีซ
เอเชียนเกมส์ 2022 2–7 ตุลาคม ค.ศ. 2023 จีน หางโจว 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
แพนอเมริกันเกมส์ 2023 30 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน 2023 ชิลี ซันติอาโก 1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ชิงแชมป์ยุโรป 2024 4–16 มกราคม ค.ศ. 2024 โครเอเชีย ดูบรอฟนิก/ซาเกร็บ 1 ธงชาติสเปน สเปน
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 5–17 กุมภาพันธ์ 2024 ประเทศกาตาร์ โดฮา 4 ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
ธงชาติมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 – แอฟริกา 1 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 – โอเชียเนีย 1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 – ไวด์การ์ด 1 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย[a]
ทั้งหมด 12
หมายเหตุ
  1. แอฟริกาใต้ถอนตัวระหว่างการแข่งขันกีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 และโรมาเนียได้โควต้าทีมที่มีอันดับดีที่สุดโดยไม่มีการจัดอันดับ[5]

รอบคัดเลือกทีมหญิง

[แก้]
การคัดเลือก วันที่ เจ้าภาพ โควต้า ผ่านการคัดเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 13 กันยายน 2017 เปรู ลิมา 1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2023 16–28 กรกฎาคม 2023 ญี่ปุ่น ฟุกุโอกะ 2 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติสเปน สเปน
รอบคัดเลือกโซนโอเชียเนีย 2023 11–12 สิงหาคม 2023 นิวซีแลนด์ Auckland 1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
เอเชียนเกมส์ 2022 25 กันยายน – 1 ตุลาคม 2023 จีน หางโจว 1 ธงชาติจีน จีน
แพนอเมริกันเกมส์ 2023 30 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน 2023 ชิลี ซันติอาโก 1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ชิงแชมป์ยุโรป 2024 5–13 มกราคม 2024 เนเธอร์แลนด์ ไอนด์โฮเวน 1 ธงชาติกรีซ กรีซ
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 4–16 กุมภาพันธ์ 2024 ประเทศกาตาร์ โดฮา 2 ธงชาติฮังการี ฮังการี
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 – แอฟริกา 1 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 – ไวล์ดการ์ด 1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา[a]
ทั้งหมด 10
หมายเหตุ
  1. แอฟริกาใต้ถอนตัวจากการแข่งขันหลังกีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2024 แคนาดาในฐานะทีมที่ไม่ผ่านกาาคัดเลือกที่ดีที่สุดได้เข้ามาแทนที่[6]

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

ตารางสรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

  *  เจ้าภาพ ( ฝรั่งเศส)

ลำดับที่NOCทองเงินทองแดงรวม
1 สเปน1001
เซอร์เบีย1001
3 โครเอเชีย0101
ออสเตรเลีย0101
5 สหรัฐ0011
เนเธอร์แลนด์0011
รวม (6 NOC)2226

ผู้ที่ได้รับเหรียญรางวัล

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ทีมชาย
รายละเอียด
เซอร์เบีย
Radoslav Filipović
Dušan Mandić
Strahinja Rašović
Sava Ranđelović
Miloš Ćuk
Nikola Dedović
Radomir Drašović
Nikola Jakšić
Nemanja Ubović
Nemanja Vico
Petar Jakšić
Viktor Rašović
Vladimir Mišović
โครเอเชีย
Marko Bijač
Rino Burić
Loren Fatović
Luka Lončar
Maro Joković
Luka Bukić
Ante Vukičević
Marko Žuvela
Jerko Marinić Kragić
Josip Vrlić
Matias Biljaka
Konstantin Kharkov
Toni Popadić
สหรัฐ
Alex Bowen
Luca Cupido
Hannes Daube
Chase Dodd
Ryder Dodd
Ben Hallock
Drew Holland
Johnny Hooper
Max Irving
Alex Obert
Marko Vavic
Adrian Weinberg
Dylan Woodhead
ทีมหญิง
รายละเอียด
สเปน
Paula Camus
Paula Crespí
Anni Espar
Laura Ester
Judith Forca
Maica García Godoy
Paula Leitón
Beatriz Ortiz
Pili Peña
Nona Pérez
Isabel Piralkova
Elena Ruiz
Martina Terré
ออสเตรเลีย
Abby Andrews
Charlize Andrews
Zoe Arancini
Elle Armit
Keesja Gofers
Sienna Green
Bronte Halligan
Sienna Hearn
Danijela Jackovich
Matilda Kearns
Genevieve Longman
Gabriella Palm
Alice Williams
เนเธอร์แลนด์
Laura Aarts
Sarah Buis
Kitty-Lynn Joustra
Maartje Keuning
Lola Moolhuijzen
Bente Rogge
Lieke Rogge
Vivian Sevenich
Brigitte Sleeking
Nina ten Broek
Simone van de Kraats
Sabrina van der Sloot
Iris Wolves

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Paris 2024 – Water Polo". Paris 2024. สืบค้นเมื่อ 24 February 2023.
  2. Iannaconi, Emily (29 August 2022). "Water polo at the 2024 Paris Olympic Games". NBC Olympics. สืบค้นเมื่อ 24 February 2023.
  3. "Paris 2024 – Water Polo Info". World Aquatics. สืบค้นเมื่อ 24 February 2023.
  4. Depasse, Guillaume (2 November 2022). "How to qualify for water polo at Paris 2024. The Olympics qualification system explained". International Olympic Committee. สืบค้นเมื่อ 24 February 2023.
  5. "Vis la Paris – Uluitor cum au primit tricolorii vestea că vor juca la Jocurile Olimpice! Prioteasa: "N-am știut nimic"". eurosport.ro. สืบค้นเมื่อ 17 February 2024.
  6. "In last-second reversal, Canada's women's water polo team qualifies for Olympics". cbc.ca. สืบค้นเมื่อ 16 February 2024.