การแสดงเสมือนเป็นเหยื่อ
หน้าตา
การแสดงเสมือนเป็นเหยื่อ (อังกฤษ: Victim playing หรือ playing the victim) หรือ การ์ดเหยื่อ (อังกฤษ: victim card) หรือ การทำตนเองให้กลายเป็นเหยื่อ (อังกฤษ: self-victimization) เป็นการสร้างเรื่องของความถูกตกเป็นเหยื่อ (fabrication of victimhood) เพื่อสนองเหตุผลต่าง ๆ เช่น เพื่อเป็นเหตุผลแสดงการมุ่งร้ายของผู้กอื่น ไปจนถึงการยักย้ายความคิดของผู้อื่น, เป็นยุทธวิธีรับมือ หรือ การเรียกร้องความสนใจ
สำหรับการกระทำในทางที่ไม่ถูกต้อง
[แก้]การแสดงเป็นเหยื่อของผู้ที่กระทำในทางที่ไม่ถูกต้อง (abusers) นั้นเพื่อ:[1][2]
- ลดทอนความเป็นมุนษย์, เบี่ยงเบนความสนใจไปจากการกระทำที่ไปในทางที่ไม่ถูกต้องผ่านการอ้างว่าการกระทำที่ไม่ถูกต้องนี้ยอมรับได้เพราะพฤติกรรมเลวร้ายของอีกบุคคลหนึ่ง (โดยทั่วไปคือเหนื่อ)
- เงื่อนไขกำหนดสำหรับการใช้อำนาจในทางที่ผิดโดยการเรียกร้องความสงสารจากผู้อื่นเพื่อได้รับความช่วยเหลือหรือสนับสนุนการใช้อำนาจในทางที่ผิดต่อผู้อื่น (เรียกว่าพร็อกซีอะบิวส์: proxy abuse)
อ้างอิง
[แก้]- Anthony C. Mersino, Emotional Intelligence for Project Managers; The People Skills You Need to Succeed (2012) p. 60 and p. 43