การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
กลศาสตร์ดั้งเดิม |
---|
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (อังกฤษ: Projectile motion) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเคลื่อนที่ที่เกิดขึ้นจากวัตถุหรืออนุภาค (โพรเจกไทล์) ซึ่งอยู่ในสนามโน้มถ่วง เช่น จากพื้นผิวโลก วัตถุเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางโค้ง ภายใต้การกระทำของแรงโน้มถ่วงเท่านั้น การคำนวณส่วนใหญ่มักจะละเว้นผลกระทบของแรงต้านอากาศเป็น
ความเร็วเริ่มต้น
[แก้]เมื่อปล่อยให้โปรเจกไทล์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเริ่มต้น ซึ่งสามารถแยกเป็นองค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วได้ดังต่อไปนี้
องค์ประกอบ และ สามารถหาได้เมื่อทราบมุมเริ่มต้น ดังนี้
- และ
ปริมาณจลนพลศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
[แก้]ในปี ค.ศ. 1638 กาลิเลโอ กล่าวในหนังสือ Two New Sciences ว่าสำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์นั้น การเคลื่อนที่ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบจะเป็นอิสระต่อกัน[1]
ความเร่ง
[แก้]สำหรับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะเกิดความเร่งเฉพาะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเท่านั้น ส่วนแนวราบความเร็วจะคงตัวมีค่าเท่ากับ การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของวัตถุจะเป็นการเคลื่อนที่แบบตกอิสระ โดยมีความเร่งคงตัว [2] องค์ประกอบของความเร่งคือ
- และ
ความเร็ว
[แก้]องค์ประกอบของความเร็วในแนวราบของวัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดการเคลื่อนที่ และองค์ประกอบของความเร็วในแนวตั้งจะเพิ่มขึ้นแบบเชิงเส้นเพราะมีความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงที่มีค่าคงที่ องค์ประกอบของความเร็วทั้งในทิศทาง x และ y สามารถรวมกันเพื่อแก้ปัญหาองค์ประกอบของความเร็ว ณ เวลา ได้ดังนี้
- และ
ขนาดของความเร็ว (ภายใต้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
การกระจัด
[แก้]ณ เวลา ใด ๆ การกระจัดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ในแนวราบและแนวดิ่งคือ
- และ
ขนาดของการกระจัดคือ
พิจารณาสมการ
- และ
ถ้า ถูกกำจัดออกระหว่างทั้งสองสมการ จะได้
เมื่อ และ เป็นค่าคงที่ สมการข้างต้นจะอยู่ในรูป
ซึ่ง และ เป็นค่าคงที่ สมการนี้เป็นสมการพาราโบลา ดังนั้นเส้นทางการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จึงเป็นรูปพาราโบลา ถ้าทราบตำแหน่ง (x,y) ของโพรเจกไทล์ และมุมยิง ( หรือ ) ความเร็วเริ่มตั้น สามารถหาได้จากการแก้สมการพาราโบลาข้างต้น ได้เป็น
เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
[แก้]เวลาทั้งหมดที่วัตถุลอยอยู่ในอากาศหาได้จากสมการ
หลังจากที่วัตถุถูกยิงออกไปและตกกลับลงมาบนพื้นอีกครั้ง (แกน x) ดังนั้น
ในที่นี้จะไม่สนใจแรงต้านของอากาศที่กระทำต่อวัตถุ
ถ้าจุดเริ่มต้นอยู่ที่ตำแหน่ง เมื่อเทียบกับจุดตก เวลาที่วัตถุลอยอยู่ในอากาศ คือ
สมการข้างต้นสามารถลดรูปเป็น
ถ้า = 0 และ = 0
ระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่
[แก้]จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง นั้นคือ
เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด
จากการกระจัดที่สูงที่สุดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะไกลสุดกับระยะสูงสุด
[แก้]ความสัมพันธืระหว่างระยะไกลสุดบนแนวราบ กับระยะสูงสุด ที่ เป็น
พิสูจน์
[แก้]
- ×
.
พิสัยของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
[แก้]ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มวลของวัตถุจะไม่ส่งผลต่อระยะไกลสุดตามแนวราบและระยะสูงสุดของการเคลื่อนที่ เมื่อขว้างวัตถุออกไปด้วยความเร็วและทิศทางเดียวกัน ระยะไกลสุดตามแนวราบของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เรียกว่า"พิสัย" คือ ระยะทางตามแนวราบจากจุดที่ขว้างวัตถุออกไปจนถึงจุดที่วัตถุตกกลับลงมาที่ตำแหน่งความสูงเริ่มต้น
เวลาเมื่อตกถึงพื้น
จากการเคลื่อนที่ในแนวราบ ระยะทางของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็น
ดังนั้น[3]
จะมีค่าสูงสุดเมื่อ
ซึ่งสอดคล้องกับ
หรือ
ระยะทางในแนวราบ ที่เคลื่อนที่ได้
เมื่อพื้นเรียบ (ความสูงเริ่มต้น ()) ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้
ดังนั้นวัตถุจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางไกลที่สุด เมื่อ มีค่าเท่ากับ 45 องศา
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทงานและพลังงาน
[แก้]ตามทฤษฎีงานและพลังงาน องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่งคือ
สมการเหล่านี้จะไม่พิจารณาแรงต้านของอากาศ และถือว่าพื้นเป็นพื้นราบเรียบ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Galileo Galilei, Two New Sciences ', Leiden, 1638, p.249
- ↑ The คือ ความเร่งโน้มถ่วง. ( ที่ผิวโลก).
- ↑