กลุ่มหน่วยรบพิเศษ (ญี่ปุ่น)
กลุ่มปฏิบัติการพิเศษ (2546 – 2552) กลุ่มหน่วยรบพิเศษ (2552 – ปัจจุบัน) | |
---|---|
特殊作戦群 | |
![]() ตราสังกัดกลุ่มหน่วยรบพิเศษ | |
ประจำการ | 27 มีนาคม พ.ศ. 2547 – ปัจจุบัน |
ประเทศ | ![]() |
เหล่า | ![]() |
รูปแบบ | หน่วยรบพิเศษ |
บทบาท | การยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ หน่วยส่งทางอากาศ การป้องกัน คชรน. การยุทธระยะประชิด การสงครามในอากาศหนาว การต่อต้านการแพร่กระจาย การปราบปรามการก่อกบฏ การต่อต้านการก่อการร้าย การปฏิบัติภารกิจโดยตรง อารักขาบุคคลสำคัญ เป้าหมายที่คุ้มค่า ชิงตัวประกัน การสงครามป่า การเข้าตีเจาะระยะไกล การสงครามภูเขา การตีโฉบฉวย การลาดตระเวน การปฏิบัติการพิเศษ การลาดตระเวนพิเศษ การสงครามนอกแบบ |
กำลังรบ | ชั้นความลับ, ประมาณการที่ 300 |
ขึ้นกับ | หน่วยบัญชาการกำลังรบภาคพื้นดิน (ภาษาญี่ปุ่น) |
กองบัญชาการ | ค่ายนาราชิโนะ, ฟูนาบาชิ, จังหวัดชิบะ |
สมญา | SFGp/Special Forces Group (ชื่อใหม่) TOKUSENGUUN,TOKUSEN (ในภาษาญี่ปุ่น) SOG/Special Operations Group (ชื่อเดิม) |
ปฏิบัติการสำคัญ | สงครามอิรัก
|
ผู้บังคับบัญชา | |
ผู้บัญชาการปัจจุบัน | พันเอกทากาโนริ ฮิราตะ |

กลุ่มหน่วยรบพิเศษ (ญี่ปุ่น: 特殊作戦群; โรมาจิ: Tokushusakusengun) เป็นหน่วยรบพิเศษและหน่วยต่อต้านการก่อการร้าย ของกองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2547 โดยกระทรวงกลาโหมญี่ปุ่น เพื่อดำเนินหน้าที่การต่อต้านการก่อการร้ายและการสงครามกองโจร ที่เป็นภัยคุกคามประเทศญี่ปุ่น[1] และควบคุมการปฏิบัติการทางทหารเพื่อต่อต้านการสงครามกองโจร หรือศัตรูที่เป็นกำลังรบพิเศษ[2][3]
ฐานบัญชาการหน่วยตั้งที่ค่ายนาราชิโนะ ในเมืองฟูนาบาชิ, จังหวัดชิบะ ร่วมกับกองพลน้อยส่งทางอากาศที่ 1 ชื่อของหน่วยนี้แรกเริ่มมีชื่อว่า กลุ่มปฏิบัติการพิเศษ[3]
กลุ่มหน่วยรบพิเศษนี้ ได้ถูกกล่าวถึงว่าเป็นกองกำลังรบพิเศษของญี่ปุ่นที่เทียบเท่ากับกรีนเบอเรต์และกองกำลังเดลตาของสหรัฐ[4] และในช่วงบุกเบิกของการก่อตั้งได้กำลังพลจากทั้ง 2 หน่วย เข้ามาช่วยพัฒนาและสนับสนุน จนได้ก่อตั้งกลุ่มหน่วยรบพิเศษของญี่ปุ่นขึ้นมา
ประวัติ
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงสร้าง
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การฝึก
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุทโธปกรณ์
[แก้]- ปืนเล็กยาวจู่โจม
- เอ็ม 4 คาร์บิน[5][6]
- โฮวา ไทป์-89[6]
- เฮคเลอร์แอนด์คอช จี 36[7]
- เฮคเลอร์แอนด์คอช เอชเค 416[7]
- ปืนไรเฟิลการยุทธ
- ปืนกลมือ
- เฮคแลร์อุนด์คอค เอ็มเพ5[6]
- มินิบี พีเอ็ม 9[6]
- ปืนป้องกันตัวประจำกาย
- เฮคแลร์อุนด์คอค เอ็มเพ7[6]
- เอฟเอ็น พี90
- ปืนพก
- ปืนไรเฟิลซุ่มยิง
- ปืนซุ่มยิง เอ็ม 24[6]
- ยุทโธปกรณ์อื่น
- ขีปนาวุธประทับบ่าพื้นสู่อากาศ ไทป์ 91
- ขีปนาวุธประทับบ่าต่อต้านรถถัง ไทป์ 01 แอลเอ็มเอที
- ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง คาร์ล กุสตาร์ฟ 8.4.ซม
- ระเบิดมือ
พาหนะ
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เอกลักษณ์
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Japan Sets Up Its 1st Special Ground Operations Unit". Asia Africa Intelligence Wire. 29 March 2004. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
- ↑ "What is the CRF (Central Readiness Force)?". สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
- ↑ 3.0 3.1 特殊作戦群 (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2008. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
- ↑ "Japan launches counter-terrorism force". The China Post. 7 April 2007. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
- ↑ 全文掲載:飯柴大尉の声明文. เก็บถาวร 2009-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved on January 12, 2009. (ในภาษาญี่ปุ่น)
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 陸上自衛隊唯一の特殊部隊 特殊作戦群の解説 (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 November 2011. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 7.3 14hk093 (PDF) (ในภาษาญี่ปุ่น) Retrieved 2015-05-26
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ทางการกลุ่มหน่วยรบพิเศษ (ญี่ปุ่น) เก็บถาวร 2009-09-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ในภาษาญี่ปุ่น)