ข้ามไปเนื้อหา

รางวัลแกรมมี ครั้งที่ 64

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 64th Annual Grammy Awards)
รางวัลแกรมมี ครั้งที่ 64
วันที่3 เมษายน 2022
ที่ตั้งเอ็มจีเอ็มแกรนด์การ์เดนอารีนา
ลาสเวกัส เนวาดา
นำเสนอโดยเทรเวอร์ โนอาห์
รางวัลมากที่สุดจอน บาติส (5)
เสนอชื่อมากที่สุดจอน บาติส (11)
เว็บไซต์grammy.com
โทรทัศน์/วิทยุ
เครือข่ายซีบีเอส
จำนวนผู้ชม9.59 ล้าน[1]
← ครั้งที่ 63 · รางวัลแกรมมี · ครั้งที่ 65 →

งานประกาศผลรางวัลแกรมมี ครั้งที่ 64 (อังกฤษ: 64th Annual Grammy Awards) จัดขึ้นที่เอ็มจีเอ็มแกรนด์การ์เดนอารีนา เมืองลาสเวกัส เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 2022[2] โดยจะมอบรางวัลแด่ผลงานเพลงที่เป็นที่ยอมรับในด้านการบันทึกเสียง การประพันธ์เพลง และศิลปินที่ดีที่สุดของปีที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ซึ่งมีผลงานเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2020 ถึง 30 กันยายน ค.ศ. 2021[3] การประกาศผลงานที่ได้รับการเสนอชื่อเปิดเผยผ่านสตรีมสดเสมือนจริงในวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021 ประกาศรายชื่อศิลปินแสดงในพิธีในวันที่ 15, 24 และ 30 มีนาคม ค.ศ. 2022 โดยมีเทรเวอร์ โนอาห์ นักตลกชาวแอฟริกาใต้ซึ่งเป็นพิธีกรดำเนินรายการในงานประกาศผล ซึ่งเคยรับหน้าที่นี้ในครั้งก่อน[4] สถานที่จัดพิธีถือเป็นครั้งแรกที่สถาบันบันทึกเสียงเพลงเปลี่ยนเมืองเจ้าภาพ[5] เป็นพิธีมอบรางวัลแกรมมีครั้งแรกที่ไม่ได้จัดขึ้นในนครนิวยอร์กหรือลอสแอนเจลิสนับตั้งแต่งานประกาศผลรางวัลแกรมมี ครั้งที่ 15 ในปี ค.ศ. 2516 ที่โรงละครเทนเนสซี เมืองแนชวิลล์ รัฐเทนเนสซี[6]

จอน บาติสได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงมากที่สุดถึง 11 รางวัล ตามมาด้วยโดจา แคต, เฮอร์ และจัสติน บีเบอร์ เข้าชิงรางวัล 8 รางวัล[7] บาติสได้ชนะรับรางวัลมากที่สุดถึง 5 รางวัล และได้รับรางวัลอัลบั้มแห่งปีจากอัลบั้ม วีอาร์ ซิลโซนิก ได้รับรางวัลบันทึกเสียงแห่งปี และเพลงแห่งปี สำหรับ "ลีฟเดอะดอร์โอเพน" โอลิเวีย โรดริโก ชนะรางวัลศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม[8] เดิมทีพิธีมีกำหนดในวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 2022 ที่คริปโต.คอม อารีนา ในลอสแอนเจลิส อย่างไรก็ตามในวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 2022 สถาบันบันทึกเสียงได้เลื่อนพิธีออกไปอย่างไม่มีกำหนดเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน[9] ในวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2022 พิธีถูกเลื่อนออกไปเป็นวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 2022 และย้ายสถานที่ไปที่เอ็มจีเอ็มแกรนด์การ์เดนอารีนา ในลาสเวกัส เนื่องจากการจัดกำหนดการขัดแย้งกับสถานที่จัดเดิมคริปโต.คอม อารีนา

การแสดง

[แก้]

พิธีปฐมทัศน์

[แก้]

ประกาศรายชื่อศิลปินแสดงในพิธี วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 2022[10]

รายชื่อศิลปินแสดงในพิธีรอบปฐมทัศน์
ศิลปิน เพลง
แมดิสัน คันนิงแฮม
ฟาลู
เอ็นเนนนา ฟรีลอน
Kalani Peʻa
จอห์น ป็อบเปอร์
ดิไอแซกส์
"แดนซ์ทูดิมิวสิก"
แอลลิสัน รัสเซลล์ "ไนต์ฟลายเออร์"
จิมมี อัลเลน "ดาวน์โฮม"
มอน ลาเฟอร์เต "La Mujer"
เคอร์ติส สจ๊วต "อีสซึนชีเลิฟลี"
เลดีซี "Me Quitte Pas (Don't Leave Me)"

พิธีหลัก

[แก้]

ศิลปินในพิธีประกาศในวันที่ 15, 24 และ 30 มีนาคม ค.ศ. 2022.[11][12][13]

รายชื่อศิลปินแสดงที่รางวัลแกรมมี ครั้งที่ 64
ศิลปิน เพลง
ซิลโซนิก
(บรูโน มาส์ และแอนเดอร์สัน แพ็ก)
"777"
"ฮอตมิวสิก"
โอลิเวีย โรดริโก "ไดเวอส์ไลเซินซ์"
เจ บัลวิน "Qué Más Pues?" (กับ มาเรีย บีเซอร์รา)
"In da Getto"
บีทีเอส "บัตเตอร์"
เอย์เมย์ นูวิโอลา "La Gota Fría"
ลิลนาสเอ็กซ์ เมดเลย์:
"เดดไรต์นาว"
"มอนเตโร (คอลมีบายยัวร์เนม)"
"อินดัสทรีเบบี" (กับ แจ็ก ฮาร์โลว์)
บิลลี ไอลิช "แฮปพิเออร์แดนเอเวอร์"
แบรนดี คาร์ไลล์ "ไรต์ออนไทม์"
นาส เมดเลย์:
"ไอเคน"
"เมดยูลุก"
"วันมิก"
"แรร์"
คริส สเตเปิลตัน "โคลด์"
มาเวอริกซิตีมิวสิก "ไจราห์"
จอห์น เลเจนด์
ซิวซานนา อิกลิดัน
ไมก้า นิวตัน
ลิวบา ยากิมชัก
อภินันทนาการแก่ ยูเครน:
"ฟรี"
เลดีกากา อภินันทนาการแก่ โทนี เบนเนต:
"เลิฟฟอร์แซล"
"ดูไอเลิฟยู?"
บิลลี สตริงส์ ""ไฮด์แอนด์ซีก"
ซินเธีย เอริโว
เบน แพลตต์
เลสลี โอดอม จูเนียร์
ราเชล เซเกลอร์
ในความทรงจำ:
"น็อตอะเดย์ก็อตส์บาย"
"เซนด์อินเดอะคราวน์ส"
"ซัมแวร์"
จอน บาติส "ฟรีดอม"
จัสติน บีเบอร์
จีวอน
แดเนียล ซีซาร์
"พีชเชอรส์"
เฮอร์ "ดาเมจ" (ร่วมร้อง จิมมี แจมและเทร์รี ลูอิส)
"วีเมดอิต"
"วียูกอนนาโกมายเวย์" (ร่วมร้อง ทราวิส บาร์เกอร์ และเลนนี แครวิตซ์)
แคร์รี อันเดอร์วูด "โกสต์สตอรี"
บราเธอร์สออสบอร์น "เดดเมนส์เคิร์ฟ"

นำเสนอ

[แก้]

ผู้ชนะและผู้ได้รับการเสนอชื่อ

[แก้]

ผู้ชนะจะปรากฏเป็นอันดับแรกและไฮไลต์ ตัวหนา.

สนามทั่วไป

[แก้]

บันทึกเสียงแห่งปี

อัลบั้มแห่งปี

เพลงแห่งปี

ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม

ป็อป

[แก้]

ขับร้องเพลงป็อปเดี่ยวยอดเยี่ยม

ขับร้องเพลงป็อปคู่/กลุ่มยอดเยี่ยม

อัลบั้มเพลงป็อปแบบดั้งเดิมยอดเยี่ยม

อัลบั้มเพลงป็อปยอดเยี่ยม

ดนตรี แดนซ์/อิเล็กทรอนิกส์

[แก้]

บันทึกเสียงเพลงแดนซ์/อิเล็กทรอนิกส์ยอดเยี่ยม

อัลบั้มเพลงแดนซ์/อิเล็กทรอนิกส์ยอดเยี่ยม

ดนตรี บรรเลงร่วมสมัย

[แก้]

อัลบั้มเพลงบรรเลงร่วมสมัยยอดเยี่ยม

ร็อก

[แก้]

การแสดงเพลงร็อกยอดเยี่ยม

การแสดงเพลงเมทัลยอดเยี่ยม

เพลงร็อกยอดเยี่ยม

อัลบั้มร็อกยอดเยี่ยม

ออลเทอร์นาทิฟ

[แก้]

อัลบั้มเพลงออลเทอร์นาทิฟยอดเยี่ยม

อาร์แอนด์บี

[แก้]

การแสดงเพลงอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม

การแสดงเพลงอาร์แอนด์บีแบบดั้งเดิมยอดเยี่ยม

เพลงอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม

อัลบั้มโปรเกรสซีฟอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม

อัลบั้มอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม

แร็ป

[แก้]
การแสดงเพลงแร็ปยอดเยี่ยม
การแสดงเพลงเมโลดิกแร็ปยอดเยี่ยม
เพลงแร็ปยอดเยี่ยม
อัลบั้มแร็ปยอดเยี่ยม

คันทรี

[แก้]

การแสดงเพลงคันทรีเดี่ยวยอดเยี่ยม

การแสดงเพลงคันทรีคู่/กลุ่มยอดเยี่ยม

เพลงคันทรียอดเยี่ยม

อัลบั้มคันทรียอดเยี่ยม

นิวเอจ

[แก้]

อัลบั้มเพลงนิวเอจ, แอมเบียนต์ หรือชานต์ยอดเยี่ยม

แจ๊ส

[แก้]

เพลงอิมโพรไวซ์แจ๊ซเดี่ยวยอดเยี่ยม

อัลบั้มแจ๊สขับร้องยอดเยี่ยม

อัลบั้มแจ๊สบรรเลงยอดเยี่ยม

อัลบั้มวงดนตรีแจ๊สขนาดใหญ่ยอดเยี่ยม

อัลบั้มลาตินแจ๊สยอดเยี่ยม

ดนตรี กอสเปล/คริสเตียนร่วมสมัย

[แก้]

การแสดง/เพลงกอสเปลยอดเยี่ยม

รางวัลแกรมมี สาขาการแสดง/เพลงดนตรีคริสเตียนร่วมสมัย

อัลบั้มกอสเปลยอดเยี่ยม

อัลบั้มดนตรีคริสเตียนร่วมสมัยยอดเยี่ยม

อัลบั้มรูตส์กอสเปลยอดเยี่ยม

ละติน

[แก้]

อัลบั้มละตินป็อปยอดเยี่ยม

อัลบั้มมูซิกาเออร์บาโนยอดเยี่ยม

อัลบั้มละตินร็อกหรือออลเทอร์นาทิฟยอดเยี่ยม

อัลบั้มดนตรีเม็กซิกันพื้นเมืองยอดเยี่ยม (รวมทั้งเตจาโน)

อัลบั้มทรอปิคอลละตินยอดเยี่ยม

อเมริกันรูตส์

[แก้]

การแสดงอเมริกันรูตส์ยอดเยี่ยม

เพลงอเมริกันรูตส์ยอดเยี่ยม

อัลบั้มอเมริกานายอดเยี่ยม

อัลบั้มบลูกราสยอดเยี่ยม

อัลบั้มบลูดั้งเดิมยอดเยี่ยม

อัลบั้มบลูร่วมสมัยยอดเยี่ยม

อัลบั้มโฟล์กยอดเยี่ยม

อัลบั้มดนตรีรีเจียนัลรูตส์ยอดเยี่ยม

เร็กเก

[แก้]

อัลบั้มเร็กเกยอดเยี่ยม

โกลบอลมิวสิก

[แก้]

การแสดงโกลบอลมิวสิกยอดเยี่ยม

อัลบั้มโกลบอลมิวสิกยอดเยี่ยม

เด็ก

[แก้]

อัลบั้มเพลงเด็กยอดเยี่ยม

สโปเกนเวิด

[แก้]

หนังสือเสียง วรรณนา และการบันทึกเล่าเรื่องยอดเยี่ยม

ตลก

[แก้]

อัลบั้มเพลงตลกยอดเยี่ยม

ละครเพลง

[แก้]

อัลบั้มละครเพลงเวทียอดเยี่ยม

ดนตรีประกอบสื่อทัศน์

[แก้]

รวมซาวด์แทร็กประกอบสื่อโสตทัศน์ยอดเยี่ยม

ซาวด์แทร็กประกอบสื่อโสตทัศน์ยอดเยี่ยม

Best Song Written for Visual Media

เรียบเรียง

[แก้]

ประพันธ์ทำนองยอดเยี่ยม

เรียบเรียง ดนตรี หรืออะแคปเปลลายอดเยี่ยม

  • "Meta Knight's Revenge (From Kirby Super Star)"
    • Charlie Rosen and Jake Silverman, arrangers (The 8-Bit Big Band featuring Button Masher)
  • "Chopsticks"
  • "For the Love of a Princess (From Braveheart)
    • Robin Smith, arranger (Hauser, London Symphony Orchestra and Robin Smith)
  • "Infinite Love"
  • "The Struggle Within"

เรียบเรียง ดนตรี และเสียงประสานยอดเยี่ยม

แพ็กเกจ หมายเหตุ & ประวัติศาสตร์

[แก้]

อัลบั้มแพ็กเกจบันทึกเสียงยอดเยี่ยม

  • Pakelang
    • Li Jheng Han and Yu Wei, art directors (2nd Generation Falangao Singing Group and the Chairman Crossover Big Band)
  • American Jackpot / American Girls
  • Carnage
  • Serpentine Prison
  • Zeta
    • Xiao Qing Yang, art director (Soul of Ears)

แพ็กเกจอัลบั้มกล่องหรือรุ่นพิเศษลิมิเต็ดยอดเยี่ยม

อัลบั้มโน้ตยอดเยี่ยมแห่งปี

  • The Complete Louis Armstrong Columbia and RCA Victor Studio Sessions 1946-1966
  • Beethoven: The Last Three Sonatas
    • Ann-Katrin Zimmermann, album notes writer (Sunwook Kim)
  • Creation Never Sleeps, Creation Never Dies: The Willie Dunn Anthology
  • Etching The Voice: Emile Berliner and the First Commercial Gramophone Discs, 1889-1895
    • David Giovannoni, Richard Martin and Stephan Puille, album notes writers (Various Artists)
  • The King of Gospel Music: The Life and Music of Reverend James Cleveland
    • Robert Marovich, album notes writer (Various Artists)

อัลบั้มเพลงประวัติศาสตร์ยอดเยี่ยม

  • Joni Mitchell Archives – Vol. 1: The Early Years (1963–1967)
    • Patrick Milligan and Joni Mitchell, compilation producers; Bernie Grundman, mastering engineer (Joni Mitchell)
  • Beyond The Music: Her Complete RCA Victor Recordings
    • Robert Russ, compilation producer; Nancy Conforti, Andreas K. Meyer and Jennifer Nulsen, mastering engineers (Marian Anderson)
  • Etching The Voice: Emile Berliner and the First Commercial Gramophone Discs, 1889-1895
    • Meagan Hennessey and Richard Martin, compilation producers; Richard Martin, mastering engineer (Various Artists)
  • Excavated Shellac: An Alternate History of the World's Music
    • April Ledbetter, Steven Lance Ledbetter and Jonathan Ward, compilation producers; Michael Graves, mastering engineer (Various Artists)
  • Sign O' The Times (Super Deluxe Edition)
    • Trevor Guy, Michael Howe and Kirk Johnson, compilation producers; Bernie Grundman, mastering engineer (Prince)

การผลิต

[แก้]

อัลบั้มวิศวกรรมยอดเยี่ยม นอกเหนือจากคลาสสิก

  • Love for Sale
    • Dae Bennett, Josh Coleman and Billy Cumella, engineers; Greg Calbi and Steve Fallone, mastering engineers (Tony Bennett and Lady Gaga)
  • Cinema
    • Josh Conway, Marvin Figueroa, Josh Gudwin, Neal H Pogue and Ethan Shumaker, engineers; Joe LaPorta, mastering engineer (The Marías)
  • Dawn
    • Thomas Brenneck, Zach Brown, Elton "L10MixedIt" Chueng, Riccardo Damian, Tom Elmhirst, Jens Jungkurth, Todd Monfalcone, John Rooney and Smino, engineers; Randy Merrill, mastering engineer (Yebba)
  • Hey What
  • Notes with Attachments

โปรดิวเซอร์แห่งปี นอกเหนือจากคลาสสิก

รีมิกซ์เสียงยอดเยี่ยม นอกเหนือจากคลาสสิก

อัลบั้มเสียงที่สมจริงยอดเยี่ยม

  • Alicia
    • George Massenburg and Eric Schilling, immersive mix engineers; Michael Romanowski, immersive mastering engineer; Ann Mincieli, immersive producer (Alicia Keys)
  • Clique
    • Jim Anderson and Ulrike Schwarz, immersive mix engineers; Bob Ludwig, immersive mastering engineer; Jim Anderson, immersive producer (Patricia Barber)
  • Fine Line
    • Greg Penny, immersive mix engineer; Greg Penny, immersive mastering engineer; Greg Penny, immersive producer (Harry Styles)
  • The Future Bites
    • Jake Fields and Steven Wilson, immersive mix engineers; Bob Ludwig, immersive mastering engineer; Steven Wilson, immersive producer (Steven Wilson)
  • Stille Grender
    • Morten Lindberg, immersive mix engineer; Morten Lindberg, immersive mastering engineer; Morten Lindberg, immersive producer (Anne Karin Sundal-Ask & Det Norske Jentekor)

อัลบั้มคลาสสิกที่มีการจัดโครงสร้างยอดเยี่ยม

โปรดิวเซอร์เพลงคลาสสิกแห่งปี

การแต่งเพลง

[แก้]

นักแต่งเพลงแห่งปี นอกเหนือจากคลาสสิก

บันทึกเสียงโอเปร่ายอดเยี่ยม

การแสดงประสานเสียงยอดเยี่ยม

การแสดงดนตรีเชมเบอร์/คณะขนาดเล็กยอดเยี่ยม

การแสดงดนตรีคลาสสิกเดี่ยวยอดเยี่ยม

อัลบั้มขับร้องคลาสสิกเดี่ยวยอดเยี่ยม

งานแสดงคัดย่อคลาสสิกยอดเยี่ยม

  • Women Warriors - The Voices Of Change
    • Amy Andersson, conductor; Amy Andersson, Mark Mattson and Lolita Ritmanis, producers
  • American Originals - A New World, A New Canon
    • AGAVE and Reginald L. Mobley; Geoffrey Silver, producer
  • Berg: Violin Concerto; Seven Early Songs and Three Pieces for Orchestra
  • Cerrone: The Arching Path
  • Plays

ประพันธ์ทำนองคลาสสิกร่วมสมัยยอดเยี่ยม


มิวสิกวิดีโอ/ภาพยนตร์

[แก้]

มิวสิกวิดีโอยอดเยี่ยม

ภาพยนตร์เพลงยอดเยี่ยม

รางวัลพิเศษ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Porter, Rick (April 4, 2022). "TV Ratings: Grammys Narrowly Avoid All-Time Low". The Hollywood Reporter. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 4, 2022. สืบค้นเมื่อ April 4, 2022.
  2. Aswad, Jem (January 18, 2022). "Grammy Awards Moving to Las Vegas on April 3". Variety. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 19, 2022. สืบค้นเมื่อ February 13, 2022.
  3. "The Recording Academy Announces Major Changes For The 2022 Grammy Awards Show". The Recording Academy. April 30, 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 20, 2022. สืบค้นเมื่อ February 13, 2022.
  4. Blum, Dani (2022-04-03). "Trevor Noah returns as host, after a dust-up with Kanye West". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 2022-04-07.
  5. Sisario, Ben (2022-01-18). "Grammy Awards Move to April in Las Vegas". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 2022-04-07.
  6. Hipes, Patrick (January 18, 2022). "Grammy Awards Sets New April Date In Las Vegas". Deadline Hollywood. สืบค้นเมื่อ January 18, 2022.
  7. Lewis, Hilary (November 23, 2021). "Grammys: Jon Batiste Tops With 11 Nominations as Recording Academy Expands General Field Categories". The Hollywood Reporter. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 23, 2021. สืบค้นเมื่อ November 23, 2021.
  8. Horton, Adrian (2022-04-03). "Grammy awards 2022: list of winners". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-04-07.
  9. "2022 Grammy Awards postponed over Omicron risk". www.cbsnews.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-04-07.
  10. Grein, Paul (March 25, 2022). "Jimmie Allen, Ledisi & More to Perform at 2022 Grammys' Premiere Ceremony". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 25, 2022. สืบค้นเมื่อ March 26, 2022.
  11. Grein, Paul (March 15, 2022). "Grammys: BTS, Billie Eilish, Olivia Rodrigo and More Set to Perform". The Hollywood Reporter. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 15, 2022. สืบค้นเมื่อ March 15, 2022.
  12. Aswad, Jem (March 24, 2022). "Foo Fighters, Jon Batiste, H.E.R., More Join Grammy Performers Lineup". Variety. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 24, 2022. สืบค้นเมื่อ March 24, 2022.
  13. Grein, Paul (March 30, 2022). "Silk Sonic, J Balvin, Carrie Underwood & More Added as Performers to 2022 Grammy Awards". Billboard. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 31, 2022. สืบค้นเมื่อ March 31, 2022.
  14. "Danae Xanthe Vlasse". Grammy. April 3, 2022. สืบค้นเมื่อ April 8, 2022.
  15. "UAH alumna Danaë Xanthe Vlasse wins GRAMMY for latest album". UAH. April 25, 2022. สืบค้นเมื่อ April 25, 2022.


แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]