ไฮออสไซยามีน
หน้าตา
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Anaspaz, Levbid, Levsin |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a684010 |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | Oral, Injection |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 50% Protein binding |
การเปลี่ยนแปลงยา | Hepatic |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 3–5 hrs. |
การขับออก | Urine |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.002.667 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C17H23NO3 |
มวลต่อโมล | 289.375 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
7 (what is this?) (verify) | |
ไฮออสไซยามีน (อังกฤษ: hyoscyamine) หรือ ดาทูรีน (daturine) เป็นสารโทรเพนแอลคาลอยด์ มีสูตรเคมีคือ C17H23NO3 พบในพืชวงศ์มะเขือ (Solanaceae) เช่น เฮนเบน, ลำโพงม่วง, มะเขือเทศ ชื่อทางการค้าของไฮออสไซยามีนได้แก่ Symax, HyoMax, Anaspaz, Egazil, Buwecon
ไฮออสไซยามีนใช้เป็นยารักษาโรคทางระบบทางเดินอาหาร เช่น กลุ่มอาการลำไส้ไวเกินต่อการกระตุ้น, การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ, แผลในกระเพาะอาหาร, ตับอ่อนอักเสบ รวมถึงลดการบีบตัวและหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร[1] และใช้ร่วมกับโอปิออยด์เพื่อเพิ่มระดับยาระงับปวดในการรักษาความเจ็บปวดจากโรคเส้นประสาท[2] ไฮออสไซยามีนอาจให้ผลข้างเคียงคือ ทำให้ปากและลำคอแห้ง, ง่วงซึม, ตามัว, เวียนศีรษะ[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Hyoscyamine - Drug Information. MedlinePlus. สืบค้นเมื่อ May 22, 2018.
- ↑ Hyoscyamine. Drug Details. สืบค้นเมื่อ May 22, 2018.
- ↑ Hyoscyamine - Oral. WebMD. สืบค้นเมื่อ May 22, 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ไฮออสไซยามีน
- Hyoscyamine - MSDS. ScienceLab. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-07. สืบค้นเมื่อ 2018-05-22.