ไม้เอก
หน้าตา
อักษรไทย | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
–่ | |||||||
รูปพยัญชนะ | |||||||
ก | ข | ฃ | ค | ฅ | ฆ | ง | จ |
ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฎ | ฏ | ฐ |
ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ |
น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ |
ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส |
ห | ฬ | อ | ฮ | ||||
รูปสระ | |||||||
ะ | –ั | า | –ํ | –ิ | ' | " | |
–ุ | –ู | เ | โ | ใ | ไ | –็ | |
อ | ว | ย | ฤ | ฤๅ | ฦ | ฦๅ | |
รูปวรรณยุกต์ | |||||||
–่ | –้ | –๊ | –๋ | ||||
เครื่องหมายอื่น ๆ | |||||||
–์ | –๎ | –ฺ | |||||
เครื่องหมายวรรคตอน | |||||||
ฯ | ฯลฯ | ๆ | |||||
๏ | ๚ | ๛ | ┼ |
ไม้เอก (–่) เป็นรูปวรรณยุกต์รูปหนึ่งของไทย ใช้เติมเหนือพยัญชนะต้นของคำ และเหนือสระบนขึ้นไปอีกถ้ามี เพื่อให้เกิดการผันเสียงวรรณยุกต์ซึ่งขึ้นอยู่กับไตรยางศ์มีลักษณะคล้ายคลึงกับฝนทอง และเปลี่ยนความหมายของคำให้เป็นอย่างอื่น
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ไม้เอกในภาษาไทย เพื่อให้เกิดความแตกต่างจากอักษรขอมและอักษรตระกูลภาษาอินเดียอื่น ๆ ที่ทรงยืมมาใช้ โดยไม้เอกมีลักษณะเป็นเส้นตั้งเล็ก ๆ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงสัณฐานจนกระทั่งถึงปัจจุบัน