แผน วรรณเมธี
หน้าตา
แผน วรรณเมธี | |
---|---|
![]() | |
เลขาธิการอาเซียน คนที่ 6 | |
ดำรงตำแหน่ง 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 – 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 | |
ก่อนหน้า | ฉาน กาย เยา |
ถัดไป | รอดเดอริค ยอง |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 30 มกราคม พ.ศ. 2467 จังหวัดพระนคร ประเทศสยาม |
คู่สมรส | หม่อมหลวงหิรัญญิกา วรรณเมธี |
วิกิซอร์ซ มีงานต้นฉบับเกี่ยวกับ:
แผน วรรณเมธี (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2467[1]) นักการทูตชาวไทย อดีตเลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ อดีตอธิบดีกรมองค์การระหว่างประเทศ อดีตอธิบดีกรมการเมือง อดีตเลขาธิการสภากาชาดไทย ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาสภากาชาดไทย ท่านได้รับการประกาศสดุดีเกียรติคุณยกย่องให้เป็น ‘ผู้สูงอายุแห่งชาติ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๕’
ประวัติ
[แก้]แผน วรรณเมธี เกิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2467 (นับแบบใหม่) สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี (ประวัติศาสตร์) จากวิทยาลัยโอเบอร์ลิน สหรัฐอเมริกา และปริญญาโท ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา ด้านชีวิตครอบครัว สมรสกับ หม่อมหลวง หิรัญญิกา ลดาวัลย์[2]
แผน วรรณเมธี เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภากาชาดไทย จนกระทั่งลาออกจากตำแหน่งในปี 2564[3]
ยศกองอาสารักษาดินแดน
[แก้]- แผน วรรณเมธี ได้รับพระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดนเป็น นายกองเอก แผน วรรณเมธี เมื่อ พ.ศ. 2549[4]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2547 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 1 ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) (ฝ่ายหน้า)[5]
- พ.ศ. 2528 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[6]
- พ.ศ. 2523 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[7]
- พ.ศ. 2547 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 1 ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.)[8]
- พ.ศ. 2513 –
เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[9]
- พ.ศ. 2546 –
เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1[10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๒" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-09-25. สืบค้นเมื่อ 2018-12-05.
- ↑ "ชมรมสายสกุลบุนนาค". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-28. สืบค้นเมื่อ 2018-12-05.
- ↑ โปรดเกล้าฯแต่งตั้ง 'เตช บุนนาค' เป็นเลขาฯสภากาชาดไทย มีผล 1 พ.ค.64
- ↑ หนังสือราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี พระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดน 11 กันยายน พ.ศ. 2549 หน้า7 เล่ม123
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เก็บถาวร 2011-11-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๙ หน้า ๑, ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๓ ตอนที่ ๑๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๒๗ มกราคม ๒๕๒๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๗ ตอนที่ ๑๘๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๗, ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๒ ข หน้า ๑, ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๙๘๐, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ และเหรียญลูกเสือสดุดี, เล่ม ๑๒๓ ตอนที่ ๑ ข หน้า ๒๘, ๕ มกราคม ๒๕๔๙
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2467
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- นักการทูตชาวไทย
- เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ปลัดกระทรวงการต่างประเทศไทย
- บุคคลจากสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
- ชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปี
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. (ฝ่ายหน้า)
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ภ.
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์