ข้ามไปเนื้อหา

แบทเทิลออฟเดอะเยียร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก แบทเทิล ออฟ เดอะ เยียร์)

แบทเทิลออฟเดอะเยียร์ (อังกฤษ: Battle of The Year) หรือมักเรียกว่า โบตี (BOTY) เป็นการแข่งขันเบรกแดนซ์ประจำปีในระดับประเทศ โดยแข่งขันประเภทกลุ่ม เริ่มจัดการแข่งขันเมื่อปี ค.ศ. 1990 การแข่งขันรอบคัดเลือกในระดับภูมิภาคของโบตีเกิดขึ้นทั่วโลก โดยรอบสุดท้ายของการแข่งขันจะเรียกว่า โบตีอินเตอร์เนชันแนล (อังกฤษ: BOTY International) จัดขึ้น ณ Volkswagenhalle ในเมือง Braunschweig ประเทศเยอรมนี และเมื่อไม่นานวันนี้ (ค.ศ. 2010) ได้จัดการแข่งขันในรอบสุดท้ายที่ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

แบทเทิลออฟเดอะเยียร์มักถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นการแข่งขันเบรกแดนซ์ที่สำคัญที่สุดในโลก บ้างก็กล่าวถึงโบตีว่าเป็น "การแข่งชิงแชมป์เบรกแดนซ์ระดับโลก" หรือไม่ก็กล่าวว่า "ช่องว่างชั้นต่ำสุดของโลกาภิวัตน์ เนื่องจากสามารถดึงผู้คนที่มีความแตกต่างทั้งทางภูมิศาสตร์ ภาษาและเชื้อชาติมาทำกิจกรรมร่วมกันได้" เบนสัน ลี ได้ถ่ายทำสารคดีเกี่ยวกับแบทเทิลออฟเดอะเยียร์เรื่อง "แพลเน็ตบีบอย" (อังกฤษ: Planet B-Boy) ที่แสดงถึงมุมมองของประเภทบุคคลที่เข้าร่วมแข่งขันแบทเทิลออฟเดอะเยียร์ โดยเขากล่าวว่า "โบตีเริ่มมีความเป็นสากลมากขึ้น ซึ่งก็หมายความว่าได้รับความนิยมมากขึ้น และก็ทำให้ความจุของสถานที่แข่งขันใหญ่ขึ้น และทุกปี ๆ แต่ละทีมของโบตีก็มีสมาชิกคนสำคัญเพิ่มขึ้น ๆ จุดมุ่งหมายที่สำคัญของพวกเขาก็คือการทำให้วัยรุ่นที่มีแรงบันดาลใจเป็นหนึ่งเดียวกัน เหตุที่จำเป็นต้องทำเช่นนั้นเพราะการจะตอบสนองข้อเรียกร้องทั้งหมดของเหล่าวัยรุ่นยิ่งเป็นไปได้ยากขึ้นทุกที ๆ"

ผู้เข้าชมการแข่งขัน BOTY ระดับนานาชาติ (International) เพิ่มมากขึ้นกว่าทุกปี ในปี 1997 มีผู้เข้าชมรอบชิงชนะเลิศในการแข่งขัน BOTY ปี ค.ศ. 2000 ทั้งสิ้น 4000 คน จัดขึ้นที่ฮันโนเฟอร์ เยอรมนี มีผู้ชมมากที่สุดมี 10000 คน ผู้เข้าชมการแข่งขัน BOTY ชมรอบชิงชนะเลิศ ในปี 2001 โดยคำว่า "การเปลี่ยนแปลงในทิศทาง" ถูกบันทึกอยู่ในโลโก้ BOTY เช่นการตัดสินใจเกิดขึ้นเพื่อเปลี่ยนรูปแบบอันเนื่องมาจากความนิยมเพิ่มขึ้นและเพื่อให้จัดการได้ง่ายขึ้น

ผู้ที่ชนะเลิศ และรางวัลสุดยอดการแสดง

[แก้]

ปี 2006 รูปแบบ คือ 2 รอบรองชนะเลิศได้ดำเนินการ โดยมีผู้ชนะในการ Battle แต่ละรอบที่เข้าร่วมในรอบชิงชนะเลิศ ส่วนผู้แพ้ในรองชนะเลิศไม่ได้มีการ Battle ดังนั้นจึงไม่มีรางวัลที่4 อีกต่อไป

Year First place Second place Losing Semifinalists Best show
2017 ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds เบลารุส Kienjuice / ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz
2016 ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz ประเทศฝรั่งเศส Melting Force ประเทศญี่ปุ่น Body Carnival / เบลารุส Kienjuice ประเทศฝรั่งเศส Melting Force
2015 ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz เบลารุส Kienjuice ประเทศไต้หวัน U-Taipei / ประเทศสเปน Doble K.O. ประเทศสเปน Doble K.O.
2014 ประเทศรัสเซีย Predatorz ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC ประเทศญี่ปุ่น Body Carnival / ประเทศเวียดนาม S.I.N.E. Crew ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC
2013 ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC ประเทศเนเธอร์แลนด์ The Ruggeds ประเทศเยอรมนี B-Town All Stars / ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz
2012 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz ประเทศฝรั่งเศส Pockémon / ประเทศเกาหลีใต้ Morning of Owl ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds
2011 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds สหรัฐอเมริกา Battle Born ประเทศญี่ปุ่น Nine State B-boyz / ไต้หวัน TPEC ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds
2010 ประเทศเกาหลีใต้ Jinjo Crew ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz / ประเทศฝรั่งเศส La Smala ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat
2009 ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz ประเทศรัสเซีย Top 9 ประเทศญี่ปุ่น All Area Crew / ประเทศฝรั่งเศส Phase-T ประเทศญี่ปุ่น All Area Crew
2008 ประเทศรัสเซีย Top 9 ประเทศเกาหลีใต้ T.I.P. Crew ประเทศไต้หวัน Formosa / ประเทศฝรั่งเศส Smokémon ประเทศรัสเซีย Top 9
2007 ประเทศเกาหลีใต้ Extreme Crew ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew ประเทศฝรั่งเศส Legiteam Obstruxion / ประเทศเยอรมนี Funk Fellaz ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew
2006 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds ประเทศเกาหลีใต้ Last For One ประเทศเกาหลีใต้ Drifterz / ประเทศเยอรมนี B-Town Allstars ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds

ที่กล่าวไว้ข้างต้นนี้คือรายชื่อทีมที่ชนะเสิศการแข่งขัน Battle of the year (BOTY) ทั้ง รางวัลRunner Up และ รางวัลชนะเลิศการแสดงยอดเยี่ยม (Best Show winners) โดยจะเรียงดามลำดับปีที่มีการแข่งขัน ประเทศที่ร่วมด้วย (รวมไปถึงประเทศเป็นหลัก)

หมายเหตุ:ไม่รวมรางวัลให้กับการแสดงยอดเยี่ยม (Best of Show) ตั้งแต่ปี 1991-1996 และไม่ได้เป็นตัวแทนชนะเลิศในการแข่งขัน BOTY 1990

ปี ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 การแสดงยอดเยี่ยม
2014 ประเทศรัสเซีย ru [Predatorz Crew; Predatorz] ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC ประเทศญี่ปุ่น Body Carnival / ประเทศเวียดนาม S.I.N.E. Crew ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC
2013 ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC ประเทศเนเธอร์แลนด์ Ruggeds ประเทศเยอรมนี B-Town All Stars / ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz No third-place battle held ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz
2012 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds ประเทศญี่ปุ่น Floorriorz ประเทศฝรั่งเศส Pockemon

ประเทศเกาหลีใต้ Morning of owl

No third-place battle held ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds
2011 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds สหรัฐอเมริกา Battle Born ประเทศญี่ปุ่น Nine Stages B-boyz

ไต้หวัน TPEC

No third-place battle held ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds
2010 ประเทศเกาหลีใต้ Jinjo ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz, ประเทศฝรั่งเศส La Smala No third-place battle held ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat
2009 ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz ประเทศรัสเซีย Top 9 ประเทศญี่ปุ่น All Area, ประเทศฝรั่งเศส Phase-T No third-place battle held ประเทศญี่ปุ่น All Area
2008 ประเทศรัสเซีย Top 9 ประเทศเกาหลีใต้ T.I.P. ประเทศไต้หวัน Formosa, ประเทศฝรั่งเศส Smokémon No third-place battle held ประเทศรัสเซีย Top 9
2007 ประเทศเกาหลีใต้ Extreme Crew ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew ประเทศฝรั่งเศส Legiteam Obstruxion, ประเทศเยอรมนี Funk Fellaz No third-place battle held ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew
2006 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds ประเทศเกาหลีใต้ Last For One ประเทศเกาหลีใต้ Drifterz, ประเทศเยอรมนี B-Town Allstars No third-place battle held ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds
2005 ประเทศเกาหลีใต้ Last For One ประเทศญี่ปุ่น Ichigeki ประเทศเกาหลีใต้ Gambler ประเทศฝรั่งเศส Phase-T ประเทศญี่ปุ่น Ichigeki
2004 ประเทศเกาหลีใต้ Gambler ประเทศฝรั่งเศส Fantastik Armada ประเทศเยอรมนี Stuttguard ประเทศอิตาลี Break the Funk ประเทศอิตาลี Break the Funk
2003 ประเทศฝรั่งเศส Pockémon ประเทศเกาหลีใต้ Expression Crew ประเทศเกาหลีใต้ Gambler ประเทศญี่ปุ่น Fire Works ประเทศญี่ปุ่น Fire Works
2002 ประเทศเกาหลีใต้ Expression Crew ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Deep Trip ประเทศรัสเซีย Top 9 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds
2001 ประเทศฝรั่งเศส Wanted ประเทศญี่ปุ่น Team Ohh สหรัฐอเมริกา HaviKoro ประเทศเกาหลีใต้ Visual Shock ประเทศเกาหลีใต้ Visual Shock
2000 ประเทศเยอรมนี Flying Steps ประเทศญี่ปุ่น Waseda Breakers ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Scrambling Feet ประเทศแอฟริกาใต้ South African Allstars ประเทศญี่ปุ่น Waseda Breakers
1999 ประเทศฮังการี Suicidal Lifestyle สหรัฐอเมริกา Rock Force ประเทศแคนาดา Bag of Trix ประเทศฝรั่งเศส The Family ประเทศสวิตเซอร์แลนด์/ประเทศญี่ปุ่น Spartanic Rockers
1998 สหรัฐอเมริกา Rock Force ประเทศฝรั่งเศส The Family สหรัฐอเมริกา Phase 2 ประเทศฮังการี Suicidal Lifestyle ประเทศญี่ปุ่น Spartanic Japan
1997 สหรัฐอเมริกา Style Elements ประเทศเยอรมนี South Side Rockers ประเทศแอฟริกาใต้ Black Noise ประเทศฮังการี Suicidal Lifestyle ประเทศเยอรมนี South Side Rockers
1996 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Toys in Effect ประเทศฮังการี Enemy Squad ประเทศเยอรมนี Wedding B-Boys & Flying Steps ประเทศอิตาลี Passo Sul Tempo None awarded
1995 ประเทศฝรั่งเศส/ประเทศอิตาลี The Family ประเทศฮังการี Enemy Squad ประเทศเดนมาร์ก Out of Control ประเทศเยอรมนี Phase-T None awarded
1994 ประเทศเยอรมนี Vlinke Vuesse ประเทศฮังการี Enemy Squad สหราชอาณาจักร Always Rockin Tuff ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Crazy Force Crew None awarded
1993 สหราชอาณาจักร Always Rockin Tuff ประเทศเยอรมนี Fresh Force ประเทศฮังการี Enemy Squad ประเทศเยอรมนี TDB None awarded
1992 ประเทศเยอรมนี Battle Squad สหราชอาณาจักร Second 2 None ประเทศฮังการี Enemy Squad ประเทศเยอรมนี TDB None awarded
1991 ประเทศเยอรมนี Battle Squad ประเทศเยอรมนี TDB ประเทศฮังการี Enemy Squad ประเทศเยอรมนี Fresh Force None awarded
1990 ประเทศเยอรมนี/สหราชอาณาจักร TDB ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Crazy Force Crew ประเทศเยอรมนี City Rockers None awarded None awarded

[1]

ฤดูกาล 2016

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2016 (พ.ศ. 2559)

[แก้]

แม่แบบ:6TeamBracket-Cust

Best Show: ประเทศฝรั่งเศส Melting Force

ผลการแข่งขัน 2016 International 1 on 1 Battle

[แก้]
รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
           
 ประเทศโปรตุเกส Bruce Almighty   W
 เบลารุส Inside   L  
 ประเทศโปรตุเกส Bruce Almighty   W
   ประเทศบราซิล Fernandinho   L  
 ประเทศบราซิล Fernandinho   W
 ประเทศอิตาลี Elia   L  
 ประเทศโปรตุเกส Bruce Almighty   W
   ประเทศอิสราเอล Poter   L  
 ประเทศอิสราเอล Poter   W
 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Kid Colombia   L  
 ประเทศอิสราเอล Poter   W
   ประเทศญี่ปุ่น Ayumi   L  
 ประเทศญี่ปุ่น Ayumi   W
 ประเทศกรีซ Zoob   L  
 ประเทศโปรตุเกส Bruce Almighty   W
   ประเทศฝรั่งเศส Nasso   L
 ประเทศฝรั่งเศส Nasso   W
 ประเทศเยอรมนี Aleks   L  
 ประเทศฝรั่งเศส Nasso   W
   โมร็อกโก Lil Zoo   L  
 โมร็อกโก Lil Zoo   W
 ประเทศเบลเยียม Admiracles   L  
 ประเทศฝรั่งเศส Nasso   W
   ประเทศญี่ปุ่น Taisuke   L   อันดับที่ 3
 ประเทศญี่ปุ่น Taisuke   W
 
 สหราชอาณาจักร Spin   L  
 ประเทศญี่ปุ่น Taisuke   W      
   ประเทศฝรั่งเศส Pac Pac   L        
 ประเทศฝรั่งเศส Pac Pac   W
 ประเทศนิวซีแลนด์ Akorn   L  

ฤดูกาลปี 2014

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2014 (พ.ศ. 2557)

[แก้]

แม่แบบ:6TeamBracket-Cust

รางวัลสุดยอดการแสดงยอดเยี่ม : ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2014

[แก้]
Crew Qualification
ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC
ประเทศกรีซ Black Out Crew
ประเทศญี่ปุ่น Body Carnival
ประเทศอิตาลี Last Alive
ประเทศไนจีเรีย 619 Fellerz
ประเทศบราซิล Street Son Crew
สหราชอาณาจักร Soul Mavericks
ประเทศรัสเซีย Predatorz
เซเนกัล Crazy Elements
ประเทศฝรั่งเศส Infamous
ประเทศไต้หวัน Ten Years in a Moment
เม็กซิโก Gravedad Zero
ประเทศเวียดนาม S.I.N.E Crew
ประเทศเยอรมนี The Saxonz
ประเทศเนเธอร์แลนด์ The Ruggeds
ประเทศอิสราเอล Unstopabullz

ผลการแข่งขัน 2014 International 1 on 1 Battle

[แก้]
รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
           
 สหรัฐอเมริกา Gravity   W
 ประเทศนิวซีแลนด์ Hugga   L  
 สหรัฐอเมริกา Gravity   L
   ประเทศรัสเซีย Alcolil   W  
 ประเทศรัสเซีย Alcolil   W
 ประเทศอิตาลี Kacyo   L  
 ประเทศรัสเซีย Alcolil   W
   ประเทศญี่ปุ่น Kazuki Roc   L  
 ประเทศญี่ปุ่น Kazuki Roc   W
 ประเทศรัสเซีย Ziprock   L  
 ประเทศญี่ปุ่น Kazuki Roc   W
   ประเทศเนเธอร์แลนด์ Kid Columbia   L  
 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Kid Columbia   W
 ประเทศบราซิล Rafastil   L  
 ประเทศรัสเซีย Alcolil   W
   ประเทศโปแลนด์ Kleju   L
 ประเทศฝรั่งเศส Noe   L
 ประเทศเบลเยียม TRock   W  
 ประเทศเบลเยียม TRock   L
   ประเทศแอฟริกาใต้ Benny   W  
 ประเทศแอฟริกาใต้ Benny   W
 ประเทศเยอรมนี Onel   L  
 ประเทศแอฟริกาใต้ Benny   L
   ประเทศโปแลนด์ Kleju   W   อันดับที่ 3
 ประเทศโปแลนด์ Kleju   W
 
 เวเนซุเอลา Mini Joe   L  
 ประเทศโปแลนด์ Kleju   W      
   โมร็อกโก Lil Zoo   L        
 โมร็อกโก Lil Zoo   W
 ประเทศฝรั่งเศส Khalil   L  

ฤดูกาลปี 2013

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2013 (พ.ศ. 2556)

[แก้]
Semi final placers (see table below)
      
1 ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC W
4 เวเนซุเอลา Vino Tinto L
 
 
3 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Ruggeds W
2 ประเทศไต้หวัน KGB TC United L
Semi finals Finals
      
1 ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC W
4 ประเทศเยอรมนี B-Town All Stars L
ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC W
ประเทศเนเธอร์แลนด์ Ruggeds L
3 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Ruggeds W
2 ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz L

Best Show: ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2013

[แก้]
Crew Qualification
ประเทศกรีซ WaveOmatic Winner, BOTY Balkans 2013
ประเทศอิตาลี De Klan Winner, BOTY Italy 2013
ประเทศไต้หวัน KGB TC Unity Winner, BOTY Taiwan 2013
ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz Winner, BOTY Japan 2013
ประเทศอิสราเอล Unstopabullz Winner, BOTY Israel 2013
เบลารุส Hunters Crew Winner, BOTY Belarus 2013
ประเทศไนจีเรีย Space Unlimited Winner, BOTY Nigeria 2013
ประเทศเยอรมนี B-Town Allstars Winner, BOTY Germany 2013
สหราชอาณาจักร Soul Mavericks Winner, BOTY Central Europe 2013
ประเทศเวียดนาม S.I.N.E Crew Winner, BOTY South Asia 2013
ประเทศฝรั่งเศส Melting Force Winner, BOTY France 2013
สหรัฐอเมริกา Knuckle Head Zoo Winner, BOTY USA 2013
ประเทศเกาหลีใต้ Fusion MC Winner, BOTY Korea 2013
เวเนซุเอลา Vinotinto
ประเทศเนเธอร์แลนด์ Ruggeds

ผลการแข่งขัน 1 on 1 Battle 2013 International

[แก้]
รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
           
 ประเทศเกาหลีใต้ Pocket   W
 ประเทศอิตาลี Mat   L  
 ประเทศเกาหลีใต้ Pocket   L
   ประเทศญี่ปุ่น Issei   W  
 ประเทศญี่ปุ่น Issei   W
 ประเทศอิสราเอล Hulk   L  
 ประเทศญี่ปุ่น Issei   L
   ประเทศเนเธอร์แลนด์ Menno   W  
 ประเทศฝรั่งเศส Tonio   L
 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Menno   W  
 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Menno   W
   ประเทศญี่ปุ่น Nori   L  
 ประเทศญี่ปุ่น Nori   W
 โมร็อกโก Lil Zoo   L  
 ประเทศเนเธอร์แลนด์ Menno   W
   สหรัฐอเมริกา Thesis   L
 ประเทศบัลแกเรีย Slav   L
 สหรัฐอเมริกา Thesis   W  
 สหรัฐอเมริกา Thesis   W
   ประเทศเกาหลีใต้ Wing   L  
 ประเทศเกาหลีใต้ Wing   W
 ประเทศรัสเซีย Bootuz   L  
 สหรัฐอเมริกา Thesis   W
   เวเนซุเอลา Lil G   L   อันดับที่ 3
 เวเนซุเอลา Lil G   W
 
 ประเทศเบลเยียม Titris   L  
 เวเนซุเอลา Lil G   W      
   ประเทศยูเครน Robin   L        
 ประเทศออสเตรีย Cherry   L
 ประเทศยูเครน Robin   W  

ฤดูกาลปี 2012

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2012 (พ.ศ. 2555)

[แก้]
Semi final placers (see table below)
      
1 Morning of Owl ประเทศเกาหลีใต้ W
4 Formosa ไต้หวัน L
 
 
3 De Klan ประเทศอิตาลี L
2 Pockemon Crew ประเทศฝรั่งเศส W
Semi finals Finals
      
1 Morning of Owl ประเทศเกาหลีใต้ L
4 Floorriorz ประเทศญี่ปุ่น W
Floorriorz ประเทศญี่ปุ่น L
Vagabond Crew ประเทศฝรั่งเศส W
3 Pockemon Crew ประเทศฝรั่งเศส L
2 Vagabond Crew ประเทศฝรั่งเศส W

Best Show: Vagabond Crew ประเทศฝรั่งเศส

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2012

[แก้]
Crew Qualification
ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds Champion, BOTY International 2011
ประเทศกรีซ Dead Prezz Winner, BOTY Balkans 2012
ประเทศออสเตรีย Prodigy Winner, Central Eastern Europe 2012
ประเทศสเปน Supremos Winner, BOTY Iberica 2012
ประเทศฝรั่งเศส Pockemon Winner, BOTY France 2012
ประเทศญี่ปุ่น Flooriorz Winner, BOTY Japan 2012
ประเทศอิสราเอล Kosher Flava Winner, BOTY Israel 2012
เบลารุส Hunters Crew Winner, BOTY Belarus 2012
ตูนิเซีย Upper Underground Winner, BOTY Africa 2012
ประเทศเยอรมนี Reckless Gang Winner, BOTY Germany 2012
ประเทศอิตาลี De Klan Winner, BOTY Italy 2012
ประเทศไต้หวัน Formosa Crew Winner, BOTY Taiwan 2012
ประเทศสิงคโปร์ Rakical Force Winner, BOTY South Asia 2012
ประเทศไนจีเรีย Space Unlimited Winner, BOTY Nigeria 2012
ประเทศเบลเยียม Team Shmetta Winner, BOTY BeNeLux 2012
ประเทศแอฟริกาใต้ Unity Crew Winner, BOTY South Africa 2012
โมร็อกโก Lhiba KingZoo Winner, BOTY 2012
ประเทศเกาหลีใต้ Morning of Owl Winner, BOTY Korea 2012

ฤดูกาลปี 2011

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2011 (พ.ศ. 2554)

[แก้]
Semifinals Finals
      
1 สหรัฐอเมริกา Battle Born W
4 ประเทศญี่ปุ่น Nine Stages B-boyz L
สหรัฐอเมริกา Battle Born L
ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds W
3 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds W
2 ประเทศไต้หวัน TPEC L

Best Show: ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2011

[แก้]
Crew Qualification
ประเทศเกาหลีใต้ Jinjo Champions, BOTY International 2010
ประเทศกรีซ Dead Prezz Winner, BOTY Balkans 2011
ประเทศโปแลนด์ CT Group Winner, BOTY Vienna 2011
ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds Winner, BOTY France 2011
ประเทศญี่ปุ่น Nine States B-Boyz Winner, BOTY Japan 2011
ประเทศไต้หวัน TPEC Winner, BOTY Taiwan 2011
ประเทศอิสราเอล Kosher Flava Winner, BOTY Israel 2011
คาซัคสถาน Simple System Winner, BOTY Kazakhstan 2011
ประเทศกัวเตมาลา Guatemaya Crew Winner, BOTY Central America 2011
ประเทศเกาหลีใต้ Maximum Crew Winner, BOTY Korea 2011
สหรัฐอเมริกา Battle Born Winner, BRAUN BOTY USA 2011
ประเทศบราซิล Amazon B-Boys Winner, BOTY Brazil 2011
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Ruff'n'X Winner, BOTY Switzerland 2011
ประเทศแอลจีเรีย Fusion Crew Winner, BOTY Algeria 2011
ตูนิเซีย Flavaz Army Winner, BOTY Tunisia 2011
ประเทศเยอรมนี Reckless Bunch Winner, BRAUN BOTY Germany 2011
ไทย OnePiece UD Town Winner, BOTY South Asia 2011
ประเทศเบลเยียม Hoochen Crew Winner, BRAUN BOTY Benelux 2011
ประเทศอิตาลี De Klan Winner, BRAUN BOTY Italy 2011
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Over Boys Winner, BRAUN BOTY Middle East 2011
ประเทศรัสเซีย BMT & Mafia 13 Winner, BOTY Russia 2011

ฤดูกาลปี 2010

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2010 (พ.ศ. 2553)

[แก้]
ชนะเลิศ ประเทศเกาหลีใต้ Jinjo รองชนะเลิศ ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat
      
1 ประเทศเกาหลีใต้ Jinjo W
4 ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz L
ประเทศเกาหลีใต้ Jinjo W
ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat L
3 ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat W
2 ประเทศฝรั่งเศส La Smala L

Best Show: ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2010

[แก้]
Crew Qualification
ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz Champion, BOTY International 2009
ประเทศเกาหลีใต้ Jinjo Winner, BOTY Korea 2010
ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat Winner, BOTY Japan 2010
ประเทศไต้หวัน Top Coalition Winner, BOTY Taiwan 2010
ประเทศฝรั่งเศส La Smala Winner, BOTY France 2010
ประเทศเวียดนาม Big Toe Winner, BOTY SEA 2010
ประเทศอิตาลี De Klan Winner, BOTY Italy 2010
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 2DR Squad Winner, BOTY Switzerland 2010
ประเทศรัสเซีย Predatorz Winner, BOTY Russia 2010
ประเทศเบลเยียม/ประเทศเนเธอร์แลนด์ Team Shmetta Winner, BOTY Benelux 2010
ประเทศออสเตรีย PRODIGY Winner, BOTY South East Europe 2010
ประเทศบราซิล Bio All Stars Winner, BOTY Brazil 2010
คาซัคสถาน Simple System Winner, BOTY Kazakhstan 2010
ประเทศกรีซ Dead Prezz Winner, BOTY Balkans 2010
ประเทศเยอรมนี Flowjob Winner, BOTY Germany 2010
ประเทศกัวเตมาลา Chapin Crew Winner, BOTY Guatemala 2010
ประเทศอิสราเอล Unstopabullz Winner, BOTY Israel 2010
ประเทศแอลจีเรีย Dziri Crew Winner, BOTY Algeria 2010
โมร็อกโก La Halla King Zoo Winner, BOTY Morocco 2010

ฤดูกาลปี 2009

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2009 (พ.ศ. 2552)

[แก้]
ชนะเลิศ ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz รองชนะเลิศ ประเทศรัสเซีย Top 9
      
1 ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz W
4 ประเทศฝรั่งเศส Phase-T L
ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz W
ประเทศรัสเซีย Top 9 L
3 ประเทศญี่ปุ่น All Area Crew L
2 ประเทศรัสเซีย Top 9 W

Best Show: ประเทศญี่ปุ่น All Area Crew

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2009

[แก้]

[2]

Crew Qualification
ประเทศรัสเซีย Top 9 Champion, BOTY International 2008
สหราชอาณาจักร Soul Mavericks Winner, BOTY UK 2009
ประเทศฝรั่งเศส Phase T Winner, BOTY France 2009
ประเทศออสเตรีย Prodigy Crew Winner, BOTY SEE 2009
ประเทศกรีซ Breakers Without Fear Winner, BOTY Balkans 2009
เบลารุส Belarusian B-Boys Winner, BOTY CIS 2009
ประเทศเบลเยียม Team Shmetta Winner, BOTY Benelux 2009
ประเทศเกาหลีใต้ Gamblerz 2nd place, BOTY Asia 2009
ไต้หวัน Formosa 3rd place, BOTY Asia 2009
ประเทศญี่ปุ่น All Area Winner, BOTY Asia 2009
ซูรินาม Myztikal Winner, BOTY Caricom 2009
ประเทศอิสราเอล Unstopabulls Winner, BOTY Israel 2009
ประเทศสวีเดน Octagon Winner, BOTY Scandinavia 2009
ประเทศอิตาลี De Klan Winner BOTY Italy 2009
ประเทศเยอรมนี Funk Fellaz Winner BOTY Germany 2009
ประเทศแอฟริกาใต้ Ubuntu B Boyz Winner BOTY Africa 2009
สหรัฐอเมริกา Knuckle Head Zoo Invited Directly
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Ghost Rockz Winner BOTY Switzerland 2009
ประเทศบราซิล Amazon B Boyz Winner BOTY Brazil 2009

ฤดูกาลปี 2008

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2008 (พ.ศ. 2551)

[แก้]
รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
      
1 ประเทศเกาหลีใต้ T.I.P. W
4 ไต้หวัน Formosa L
ประเทศเกาหลีใต้ T.I.P. L
ประเทศรัสเซีย Top 9 W
3 ประเทศรัสเซีย Top 9 W
2 ประเทศฝรั่งเศส smokémon L

Best Show: ประเทศรัสเซีย Top 9


รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2008

[แก้]

รายชื่อที่ว่านี้จะเรียงลำดับวันที่ที่มีการแข่งขัน

Crew Qualification
ประเทศเกาหลีใต้ Extreme Crew Champion, BOTY International 2007
สหราชอาณาจักร Bad Taste Cru Winner, BOTY UK 2008
ประเทศเนเธอร์แลนด์ Groove Kingz Winner, BOTY Benelux 2008
ประเทศฝรั่งเศส Smokemon Winner, BOTY France 2008
ประเทศกรีซ Dead Prezz Winner, BOTY Balkans 2008
ประเทศโปแลนด์ Crazy Twisting Tribal Team Winner, BOTY South East Europe 2008
ประเทศรัสเซีย Top 9 Winner, BOTY Russia 2008
โมร็อกโก La Halla King Zoo Winner, BOTY West Africa 2008
ประเทศเกาหลีใต้ T.I.P. Winner, BOTY Asia 2008
ไต้หวัน Formosa 2nd place, BOTY Asia 2008
ประเทศญี่ปุ่น Kaiten Ninja 3rd place, BOTY Asia 2008
ประเทศแคนาดา Now or Never Winner, BOTY Canada 2008
ประเทศอิสราเอล Unstopabulls Winner, BOTY Israel 2008
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Ghost Rockz Winner, BOTY Switzerland 2008
ประเทศบราซิล Tsunami Allstars Winner, BOTY Brazil 2008
ประเทศเยอรมนี TNT Crew Winner, BOTY Germany 2008
ประเทศสวีเดน Octagon Winner, BOTY Scandinavia 2008
ประเทศสเปน Fallen Angels Crew Winner, BOTY Iberica 2008
สหรัฐอเมริกา Furious Soldiers Winner, BOTY USA 2008

ฤดูกาลปี 2007

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลปี 2007 (พ.ศ. 2550)

[แก้]
รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
      
1 ประเทศฝรั่งเศส Legiteam Obstruktion L
4 ประเทศเกาหลีใต้ Extreme Crew W
ประเทศเกาหลีใต้ Extreme Crew W
ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew L
3 ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew W
2 ประเทศเยอรมนี Funk Fellaz L

Best Show: ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2007

[แก้]

รายชื่อที่ว่านี้จะเรียงลำดับวันที่ที่มีการแข่งขัน ยังไม่มีสีพื้นหลังอยู่ข้างต้น

ชื่อทีม ตัวแทนประเทศ
ประเทศเบลเยียม Hoochen Winner, BOTY Benelux 2007
ประเทศฮังการี Sick 7 Winner, BOTY South East Europe 2007
ประเทศบัลแกเรีย Plastic Def Squad Winner, BOTY Balkans 2007
ประเทศฝรั่งเศส Legiteam Obstruktion Winner, BOTY France 2007
ประเทศอิตาลี Rapid Soul Moves Winner, BOTY Italy 2007
ประเทศสเปน Fallen Angels Crew Winner, BOTY Iberica 2007
ประเทศเกาหลีใต้ Extreme (Obo Wang) Crew Winner, BOTY Asia 2007
ประเทศญี่ปุ่น Turn Phrase Crew 2nd place, BOTY Asia 2007
ไทย Ground Scatter Crew 3rd place, BOTY Asia 2007
ประเทศอิสราเอล Breakerholics Winner, BOTY Israel 2007
ประเทศสวีเดน Ultimate Desperados Winner, BOTY Scandinavia 2007
ประเทศเยอรมนี Funk Fellaz Winner, BOTY Germany 2007
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Ruff'n'X Crew Winner, BOTY Switzerland 2007
ประเทศบราซิล DF Zulu Breakers Winner, BOTY Brazil 2007
ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds (withdrew) Champion, BOTY International 2006
ประเทศแอฟริกาใต้ Last Minute Crew (withdrew) Winner, BOTY South Africa 2007

ฤดูกาลปี 2006

[แก้]

ผลการแข่งขัน รอบสุดท้าย ฤดูกาลจำปี2006 (พ.ศ. 2549)

[แก้]
รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
      
1 ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds W
4 ประเทศเกาหลีใต้ Drifterz L
ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds W
ประเทศเกาหลีใต้ Last For One L
3 ประเทศเกาหลีใต้ Last For One W
2 ประเทศเยอรมนี B-Town Allstars L

Best Show: ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds

รายชื่อทีมผู้เข้าแข่งขันรอบ World Finals ปี 2006

[แก้]
ชื่อทีม ตัวแทนประเทศ
ประเทศเกาหลีใต้ Last For One Champion, BOTY International 2005
ประเทศฝรั่งเศส Vagabonds Winner, BOTY France 2006
ประเทศบัลแกเรีย Electric Force Crew Winner, BOTY Balkans 2006
ประเทศสวีเดน Octagon Winner, BOTY Scandinavia 2006
ประเทศรัสเซีย Top 9 Winner, BOTY Russia 2006
ประเทศออสเตรีย Moving Shadows Winner, BOTY South East Europe 2006
ประเทศอิตาลี Ormus Force Winner, BOTY Italy 2006
ประเทศลัตเวีย Camelot Winner, BOTY North East Europe 2006
ประเทศญี่ปุ่น Mortal Combat Winner, BOTY Japan 2006
ประเทศสเปน Fallen Angels Winner, BOTY Iberica 2006
ประเทศอิสราเอล Lions of Zion Winner, BOTY Israel 2006
ประเทศจีน STO Winner, BOTY China 2006
สหรัฐอเมริกา Knuckle Head Zoo Winner, BOTY USA 2006
ไทย Ground Scatter Crew Winner, BOTY South East Asia 2006
ประเทศแอฟริกาใต้ Ubuntu Winner, BOTY South Africa 2006
ไต้หวัน HRC Winner, BOTY Taiwan 2006
ประเทศเยอรมนี B-Town Allstars Winner, BOTY Germany 2006
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ Ruff'n'X Crew Winner, BOTY Switzerland 2006
ประเทศเกาหลีใต้ Drifterz Winner, BOTY Korea 2006
ประเทศเนเธอร์แลนด์ Floor Burning Winner, BOTY Benelux 2006

รูปแบบการแข่งขัน

[แก้]

รูปแบบการแข่งขันรอบคัดเลือกระดับโลก

[แก้]

รูปแบบการแข่งขันในรอบคัดเลือกเป็นการแสดงเบรกแดนซ์ในรูปแบบปกติต่าง ๆ เพื่อแสดงความสามารถของทีม โดยจำกัดเวลาไว้ไม่เกิน 6 นาที กรรมการตัดสินจะตัดสินโดยใช้เงื่อนไขบางประการ ขึ้นอยู่กับการแสดง รอบนี้เรียกว่ารอบโชว์เคส (Showcase Round) รอบต่อมาจากรอบโชว์เคส สี่ทีมที่มีคะแนนสูงสุดจากการตัดสินในรอบแรก จะได้รับเลือกเพื่อแข่งขันในรอบรองสุดท้ายในประเภททีมปะทะทีม (Crew VS Crew) แบบเพลย์ออฟ ในรอบนี้ ทีมที่มีคะแนนเป็นอันดับ 1 จะแข่งกับทีมอันดับ 4 และทีมอันดับ 2 จะแข่งกับทีมอันดับ 3 โดยผู้ชนะในแต่ละคู่จะไปแข่งขันต่อในรอบชิงชนะเลิศ นอกจากการแข่งในรอบสุดท้ายแล้ว ยังมีการมอบรางวัล "การแสดงยอดเยี่ยม" (Best Show) สำหรับทีมที่มีคะแนนการแสดงโชว์เคสสูงสุดอีกด้วย

เกณฑ์การให้คะแนน

[แก้]

ผู้ตัดสินจะประเมินผลของการแสดงในแต่ละรอบเป็นหลักทั้ง ศิลปะ และ เทคนิค ซึ่งรวมไปถึงเกณฑ์การให้คะแนนเป็นหลัก ทั้ง ศิลปะ รวมไปถึงใจความ เพลงประกอบ ความพร้อมเพรียงกัน การออกแบบท่าเต้น และอื่นๆ รวมไปถึงเทคนิคเป็นหลัก ทั้ง TopRock ,Uprock ,FootWork ,PowerMove และอื่นๆ

คุณสมบัติและเบื้องต้น

[แก้]

ผู้ชนะเลิศการแข่งขันรอบสุดท้ายระดับโลกคือสิ่งสำคัญที่สุดในปีต่อไปก็ยังคงรักษาตำแหน่งแชมป์ได้ เหล่านี้คือเป็นการปกป้องตำแหน่งแชมป์ ทีมอื่นๆทั้งหมดต้องมีความเหมาะสมกับการแข่งขันตั้งแต่ต้น โดยปกติแม้ว่าได้มีเกี่ยวข้องประวัติการแข่งขัน เชิญทีมโดยตรงเล็กน้อย (โดยปกติแม้ว่าจะไม่ได้อยู่ทีมส่วนภูมิภาคตั้งแต่ต้นก็ตาม)

คุณสมบัติอีกอย่างคือได้กระตุ้นไปสู่ระบบ 2 จังหวะ (Two Step) ประกอบไปด้วยตัวแทนประเทศ และ ตัวแทนจังหวัด จะเกี่ยวข้องกับประวัติ ประเทศเบื้องต้นในแต่ละบุคคล และส่งทีมเข้าไปแข่งขันระดับโลกรอบสุดท้าย อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปประเทศที่เคยไปแข่งขันระดับภูมิภาคซึ่งจะจัดการแข่งขันกันตลอดทุกปี เช่น เริ่มตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) มีผู้เข้าแข่งขัน BOTY ระดับภูมิภาคเอเชีย จะมีการส่งตัวแทนทีมเข้ามาใหม่ 3 คน เข้าไปสู่การแข่งขันระดับโลก ใน ปี ค.ศ 2006 (พ.ศ. 2549) และปีก่อน ทวีปเอเชียเช่นเดียวกันกับ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น จีน และ ไต้หวัน ได้ส่งตัวแทนเข้าไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ

ทวีปภูมิภาค ส่งตัวแทนเข้าร่วม (ทีม) ประเทศที่เข้าร่วม
BOTY เอเชีย 3  จีน,  อินโดนีเซีย,  ญี่ปุ่น,  เกาหลีใต้,  ลาว,  มาเลเซีย,  ฟิลิปปินส์,  สิงคโปร์,  ไต้หวัน,  ไทย,  เวียดนาม
BOTY บอลข่าน 1 ธงของประเทศแอลเบเนีย แอลเบเนีย,  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา,  บัลแกเรีย,  ไซปรัส,  กรีซ,  มาซิโดเนียเหนือ, ธงของประเทศมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร, ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย, ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย, ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
BOTY เบเนลักซ์ 1  เบลเยียม, ธงของประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก,  เนเธอร์แลนด์
BOTY อีเบเรีย 1  โปรตุเกส,  สเปน
BOTY ยุโรปตะวันออก* 0  เบลารุส,  เอสโตเนีย,  ลัตเวีย,  ลิทัวเนีย,
BOTY สแกนดิเนเวีย 1  เดนมาร์ก,  ฟินแลนด์,  นอร์เวย์,  สวีเดน; ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันBOTYยุโรปตะวันออกเฉียงเหนือรวมอยู่ด้วย
BOTY ยุโรปตะวันออก 1  ออสเตรีย,  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา,  โครเอเชีย,  ฮังการี,  สโลวีเนีย,  เช็กเกีย,  โปแลนด์,  สโลวาเกีย

(สแกดิเนเวีย BOTY ได้ถูกเชิญให้ประเทศที่เป็นสมาชิกยุโรปตะวันออกเฉียงเหนืออีกด้วย)

ตามที่ที่ตารางได้มีการแสดง และประเทศไว้ รวมไปถึงทีมที่เข้าร่วมมากที่สุดเข้าไปแข่งขันในรอบสุดท้าย ตั้งแต่ ฤดูกาลปี 2007

ประเทศแรก (ในแต่ละทีม) บราซิล, ฝรั่งเศส , เยอรมัน ,อิสราเอล , อิตาลี ,แอฟริกาใต้ , สวิตเซอร์แลนด์ ,สหรัฐอมเริกา

  • BOTY ยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ในส่วนภูมิภาค ได้ถูกยกเลิก เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) BOTYได้ประกาศว่าประเทศที่เป็นสมาชิกยุโรปตะวันออกเฉียงเหนือ ได้เข้าไปร่วมกับBOTY สแกดิเนเวียรวมอยู่ด้วย

รูปแบบการแข่งขันรอบสุดท้าย

[แก้]

ก่อนปี พ.ศ. 2549 การแข่งขันโบตีไม่ได้เป็นการแข่งขันแบบเพลย์ออฟ แต่มีการแข่งขันเพียงสองกลุ่ม คือกลุ่มเบรกแดนซ์สองกลุ่มแรกจะแข่งชิงชนะเลิศ และอีกสองกลุ่มที่เหลือจะแข่งเพื่อชิงอันดับสาม โดยมีกรรมการตัดสินว่ากลุ่มเบรกแดนซ์ใดสมควรได้เข้าชิงตำแหน่งชนะเลิศ แต่ก็ยังมีรางวัล "การแสดงยอดเยี่ยม" สำหรับกลุ่มเบรกแดนซ์ที่แสดงได้ยอดเยี่ยมตามคำตัดสินของคณะกรรมการอยู่ การที่มีกรรมการตัดสินว่ากลุ่มเบรกแดนซ์ใดสมควรชิงตำแหน่งชนะเลิศนั้น ทำให้มีบ่อยครั้งที่กลุ่มเบรกแดนซ์ได้รับรางวัล "การแสดงยอดเยี่ยม" แต่ไม่ได้เข้าชิงตำแหน่งชนะเลิศ แต่กลับได้เข้าชิงอันดับสามแทน ตัวอบ่างของกลุ่มเบรกแดนซ์ที่อยู่ในกรณีดังกล่าวได้แก่กลุ่ม เบรกเดอะฟังก์ (Break the Funk; พ.ศ. 2547) ไฟร์เวิร์กส์ (Fire Works; พ.ศ. 2546) และกลุ่ม วิชัวช็อก (Visual Shock; พ.ศ. 2544) การเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันรอบสุดท้ายเป็นแบบเพลย์ออฟ ทำให้รูปแบบการแข่งขันของโบตีในรอบสุดท้ายเป็นการแข่งขันของผู้ที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกในรอบแรกมาแล้ว เช่น ในรอบอุ่นเครื่องของโบตีในประเทศเกาหลี ใช้ระบบเพลย์ออฟ โดยแต่ละทีมมีผู้เล่น 4 คน และใช้ระบบนี้เป็นเวลาหลายปี

ใน พ.ศ. 2547 มีการจำกัดเวลาการแข่งรอบสุดท้ายของโบตีไว้ที่ 6 นาที โดยหากแสดงเกินเวลา 6 นาที จะนำเวลาที่แสดงเกินไปเป็นส่วนหนึ่งในการหักคะแนนของกรรมการ ข้อกำหนดนี้กำหนดเพื่อให้การแข่งขันรอบสุดท้ายของโบตีจบลงโดยใช้เวลาที่สั้นลงกว่าเดิม โดยในขั้นต้นของการออกกฎ ไม่มีผู้ใดคัดค้านกฎดังกล่าว

ใน พ.ศ. 2533 โบตีซึ่งเป็นที่รู้จักขณะนั้นในชื่อ "การแข่งขันเบรกแดนซ์ระดับนานาชาติ" (อังกฤษ: International Breakdance Cup) ไม่มีการแข่งขันเพื่อหาตำแหน่งชนะเลิศ มีเพียงการแสดงเบรกแดนซ์อย่างเดียว ในปี พ.ศ. 2534 ถึง พ.ศ. 2539 มีการแข่งขันเฉพาะตำแหน่งชนะเลิศ แต่ไม่มีการมอบรางวัล "การแสดงยอดเยี่ยม"

ประวัติโบตีในประเทศไทย

[แก้]

ปี 1990 Battle of the Year (BOTY) จัดขึ้นครั้งแรกในเมืองฮันโนเฟอร์ (Hannover) ประเทศเยอรมัน

ปี 2004 เข้ามาในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยได้ลิขสิทธิ์จัดการแข่งขัน Battle Of The Year South East Asia

ปี 2005 จัดการแข่งขัน Battle Of The Year Thailand 2005 เป็นครั้งแรก และจัดการแข่งขัน Battle Of The Year South East Asia 2005

ปี 2006 จัดการแข่งขัน Battle Of The Year Thailand 2006 เป็นครั้งแรก และจัดการแข่งขัน Battle Of The Year South East Asia 2005

ปี 2007 จัดการแข่งขัน Battle Of The Year Thailand 2007 และเนื่องจากได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในเอเชีย จึงได้เปลี่ยนแปลงจากการแข่งขันระดับ South East Asia เป็นระดับ Asia โดยแชมป์ B-Boy ของประเทศไทย ได้เข้าร่วมการแข่งขัน และได้อันดับ 3 ของ Asia ที่ประเทศเกาหลี และยังได้อันดับ 5 ของโลกที่ประเทศเยอรมัน

ปี 2008 ประเทศไทยได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพในการจัดงาน Battle Of The Year Asia

ปี 2009 สร้างสถิติการมีผู้สมัครแข่งขันเต้น B-Boy จากทั่วประเทศ เข้าร่วมการแข่งขันมากที่สุด [3]

ผู้ที่ริเริ่มการแข่งขันโบตีในประเทศไทย

[แก้]

ผู้ที่ริเริ่มการแข่งขัน Battle Of The Year ในประเทศไทย คือ คุณ ปรวรรธ กฤษณามระ (กิ๊ก) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2546 เป็นผู้อยู่เบื้องความสำเร็จให้กับการแข่งขึ้น Battle Of the Year 2006 ทีมชาติไทยจากทีม Ground Scatter Crew ติดอันดับที่ 5 ของโลก และเมื่อไม่นานวันนี้ได้สานต่อให้กับ คุณรัฎ อัศรานุเคราะห์ ประธานกรรมการ ในเครื่อกลุ่มบริษัท อาดามัส (ปัจจุบัน คือ บ. 165k จก.) เป็นบุคคลคนที่ 2 ให้กับการแข่งขัน Battle of The Year หรือ BOTY (โบตี) ก่อนหน้างาน BOTY ได้มีการจัดการแข่งขัน DJ, กร๊าฟฟิตี้, MC, B-Boy B-girl 1 on 1 และ เป็นทีม เป็นต้น เริ่มการแข่งขันเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2546 หลังจากนั้นมา การแข่งขันดังกล่าวได้ถูกยกเลิกไปอย่างถาวรเมื่อปี พ.ศ. 2551 จึงเหลือการแข่งขัน B-Boy เพื่อหาแชมป์ระดับภาค สืบเนื่องมาจากมีประชากรB-Boyในประเทศไทยเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก มาจนถึงทุกวันนี้ พ.ศ.2560 BOTY ในประเทศไทย ได้ยกเลิกการแข่งขันรอบ Performance (Showcase) ซึ่งเป็นการแสดง รอบคัดเหลือ 4 ทีมสุดท้าย จึงเปลี่ยนเป็นการแข่งขันรอบ Battle เพียงอย่างเดียว

อ้างอิง

[แก้]
  1. Past BOTY Events, Retrieved August 7, 2011
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-12-12. สืบค้นเมื่อ 2009-10-25.
  3. "ประวัติBOTYในประเทศไทย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-14. สืบค้นเมื่อ 2011-07-06.

ข้อมูลเพิ่มเติม

[แก้]