เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบแพ้คัดออก
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบแพ้คัดออก จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน ถึง 19 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ใน ประเทศกาตาร์.[1] ทั้งหมด 16 ทีมที่เข้าร่วมในรอบแพ้คัดออกที่จะตัดสินหาทีมแชมเปียนส์ของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020.[2]
ทีมที่เข้ารอบ
[แก้]ชนะเลิศและรองชนะเลิศของแต่ละทีมจากแปดกลุ่มใน รอบแบ่งกลุ่ม ได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย, กับสองโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–ดี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม อี–เอช) มีแปดทีมที่เข้ารอบ.
โซน | กลุ่ม | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ |
---|---|---|---|
โซนตะวันตก | เอ | อัลอะฮ์ลี | เอสเตกลาล |
บี | ปัคห์ตากอร์ | ชะบาบอัลอะฮ์ลี | |
ซี | เพร์สโพลีส | อัล-ตาอาวูน | |
ดี | อัล-นัสเซอร์ | อัล-ซัดด์ | |
โซนตะวันออก | อี | เป่ย์จิง เอฟซี | เมลเบิร์นวิกตอรี |
เอฟ | อุลซันฮุนได | เอฟซี โตเกียว | |
จี | วิสเซล โคเบะ | ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ | |
เอช | โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี |
รูปแบบ
[แก้]ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในทัวร์นาเมนต์ตกรอบเดียว, กับทีมที่ถูกแบ่งออกเป็นสองโซนจนกระทั่งถึงรอบชิงชนะเลิศ. แต่ละคู่จะลงเล่นในแมตช์เลกเดียวที่สนามเป็นกลาง, แทนที่จะเป็นในบ้านและนอกบ้านตามปกติ สองนัด ตามที่วางแผนไว้ก่อนหน้า การแพร่ระบาดของโควิด-19. ต่อเวลาพิเศษ และ การดวลลูกโทษ เป็นวิธีการที่จะใช้ตัดสินหาทีมชนะเลิศถ้าในกรณีที่จำเป็น.
ตารางการแข่งขัน
[แก้]ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบมีดังนี้.
รอบ | โซนตะวันตก | โซนตะวันออก |
---|---|---|
รอบ 16 ทีมสุดท้าย | 26–27 กันยายน พ.ศ. 2563 | 6–7 ธันวาคม พ.ศ. 2563 |
รอบก่อนรองชนะเลิศ | 30 กันยายน | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2563 |
รอบรองชนะเลิศ | 3 ตุลาคม พ.ศ. 2563 | 13 ธันวาคม พ.ศ. 2563 |
รอบชิงชนะเลิศ | 19 ธันวาคม พ.ศ. 2563 |
ตามโปรแกรมเดิม, ตามแผนที่วางไว้ก่อนหน้านี้ การแพร่ระบาดของโควิด-19, เป็นไปดังนี้.
- รอบ 16 ทีมสุดท้าย: 18–19 พฤษภาคม (โซนตะวันตก เลกแรก), 25–27 พฤษภาคม (โซนตะวันตก เลกที่สอง และโซนตะวันออก เลกแรก), 16–17 มิถุนายน (โซนตะวันออก เลกที่สอง)
- รอบก่อนรองชนะเลิศ: 24–26 สิงหาคม (เลกแรก), 14–16 กันยายน (เลกที่สอง)
- รอบรองชนะเลิศ: 29–30 กันยายน (เลกแรก), 20–21 ตุลาคม (เลกที่สอง)
- รอบชิงชนะเลิศ: 22 พฤศจิกายน (เลกแรก), 28 พฤศจิกายน (เลกที่สอง)
หลังจากการประชุมกับตัวแทนสมาคมจากชาติสมาชิกจากโซนตะวันออกได้จัดขึ้นในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2563 และจากโซนตะวันตกได้จัดขึ้นในวันที่ 7–8 มีนาคม พ.ศ. 2563, ได้มีการตกลงกันว่า รอบ 16 ทีมสุดท้าย, รอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศจะถูกย้ายไปเป็นวันที่ 10–12 และ 24–26 สิงหาคม, 14–16 และ 28–30 กันยายน, และ 20–21 และ 27–28 ตุลาคม.[3][4]
เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563, เอเอฟซีได้ประกาศกำหนดการแข่งขันใหม่สำหรับแมตช์ที่เหลือ, กับแมตช์ทั้งหมดก่อนรอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นที่สนามเป็นกลาง. โซนตะวันตก รอบ 16 ทีมสุดท้าย, รอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศจะลงเล่นในวันที่ 26–27 กันยายน, 30 กันยายน และ 3 ตุลาคม, และโซนตะวันออก รอบ 16 ทีมสุดท้าย, รอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ จะลงเล่นในวันที่ 3–4 พฤศจิกายน, 25 พฤศจิกายน และ 28 พฤศจิกายน. รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นในวันที่ 5 ธันวาคม, ที่สนามในโซนตะวันตก.[5][6] เมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2563, เอเอฟซีได้ประกาศว่าโซนตะวันออก รอบ 16 ทีมสุดท้าย, รอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ จะมีกำหนดการแข่งขันที่จะลงเล่นในวันที่ 6–7 ธันวาคม, 10 ธันวาคม และ 13 ธันวาคม, และรอบชิงชนะเลิศ จะมีกำหนดการแข่งขันที่จะลงเล่นในวันที่ 19 ธันวาคม.[7]
สายการแข่งขัน
[แก้]สายการแข่งขันของรอบแพ้คัดออก ได้ถูกกำหนดดังนี้:
รอบ | โซนตะวันตก | โซนตะวันออก |
---|---|---|
รอบ 16 ทีมสุดท้าย |
|
|
รอบก่อนรองชนะเลิศ | (Matchups decided by draw, involving four round of 16 winners)
|
(Matchups decided by draw, involving four round of 16 winners)
|
รอบรองชนะเลิศ |
|
|
รอบชิงชนะเลิศ |
|
สายการแข่งขันได้ตัดสินออกมาหลังการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ. การจับสลากสำหรับโซนตะวันตก รอบก่อนรองชนะเลิศได้จัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563, 11:00 AST (UTC+3), และการจับสลากสำหรับโซนตะวันออกรอบก่อนรองชนะเลิศได้จัดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2563, 11:30 AST (UTC+3), ทั้งสองโซนใน โดฮา, กาตาร์.[8][9][10][11]
รอบ 16 ทีมสุดท้าย | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
27 กันยายน – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
อัล-นัสเซอร์ | 1 | |||||||||||||
30 กันยายน – จัสซิมบินฮะหมัด | ||||||||||||||
อัล-ตาอาวูน | 0 | |||||||||||||
อัล-นัสเซอร์ | 2 | |||||||||||||
26 กันยายน – อัล จานูบ | ||||||||||||||
อัลอะฮ์ลี | 0 | |||||||||||||
อัลอะฮ์ลี (ลูกโทษ) | 1 (4) | |||||||||||||
3 ตุลาคม – จัสซิมบินฮะหมัด | ||||||||||||||
ชะบาบอัลอะฮ์ลี | 1 (3) | |||||||||||||
อัล-นัสเซอร์ | 1 (3) | |||||||||||||
27 กันยายน – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
เพร์สโพลีส (ลูกโทษ) | 1 (5) | |||||||||||||
เพร์สโพลีส | 1 | |||||||||||||
30 กันยายน – จัสซิมบินฮะหมัด | ||||||||||||||
อัล-ซัดด์ | 0 | |||||||||||||
เพร์สโพลีส | 2 | |||||||||||||
26 กันยายน – อัล จานูบ | ||||||||||||||
ปัคห์ตากอร์ | 0 | |||||||||||||
ปัคห์ตากอร์ | 2 | |||||||||||||
19 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เอสเตกลาล | 1 | |||||||||||||
เพร์สโพลีส | 1 | |||||||||||||
6 ธันวาคม – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
อุลซันฮุนได | 2 | |||||||||||||
อุลซันฮุนได | 3 | |||||||||||||
10 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เมลเบิร์นวิกตอรี | 0 | |||||||||||||
อุลซันฮุนได | 2 | |||||||||||||
6 ธันวาคม – เอดูเคชัน ซิตี | ||||||||||||||
เป่ย์จิง เอฟซี | 0 | |||||||||||||
เป่ย์จิง เอฟซี | 1 | |||||||||||||
13 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เอฟซี โตเกียว | 0 | |||||||||||||
อุลซันฮุนได (ต่อเวลา) | 2 | |||||||||||||
7 ธันวาคม – กีฬาแห่งชาติคาลิฟา | ||||||||||||||
วิสเซล โคเบะ | 1 | |||||||||||||
วิสเซล โคเบะ | 2 | |||||||||||||
10 ธันวาคม – อัล จานูบ | ||||||||||||||
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี | 0 | |||||||||||||
วิสเซล โคเบะ (ลูกโทษ) | 1 (7) | |||||||||||||
7 ธันวาคม – กีฬาแห่งชาติคาลิฟา | ||||||||||||||
ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ | 1 (6) | |||||||||||||
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 2 | |||||||||||||
ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ | 3 | |||||||||||||
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
[แก้]สรุปผลการแข่งขัน
[แก้]ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, ชนะเลิสของหนึ่งกลุ่มลงเล่นพบกับรองชนะเลิศของกลุ่มอื่นที่มาจากโซนเดียวกันและการกำหนดแมตช์จะตัดสินโดยการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัลอะฮ์ลี | 1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 4–3) |
ชะบาบอัลอะฮ์ลี |
ปัคห์ตากอร์ | 2–1 | เอสเตกลาล |
เพร์สโพลีส | 1–0 | อัล-ซัดด์ |
อัล-นัสเซอร์ | 1–0 | อัล-ตาอาวูน |
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เป่ย์จิง เอฟซี | 1–0 | เอฟซี โตเกียว |
อุลซันฮุนได | 3–0 | เมลเบิร์นวิกตอรี |
วิสเซล โคเบะ | 2–0 | เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี |
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 2–3 | ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ |
โซนตะวันตก
[แก้]อัลอะฮ์ลี | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | ชะบาบอัลอะฮ์ลี |
---|---|---|
อัล โซมาห์ 54' (ลูกโทษ) | รายงานสด รายงานสถิติ |
กานิเอฟ 28' |
ลูกโทษ | ||
อับดุลกานี ลิมา การีบ ฮอว์ซาวี อัล โซมาห์ |
4–3 | คาลิล จาเบอร์ กานิเอฟ อัล-เบลาชี อัล-นัคบี |
ปัคห์ตากอร์ | 2–1 | เอสเตกลาล |
---|---|---|
เชรัน 43' แดร์ดิยอก 47' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
คารีมี 32' |
โซนตะวันออก
[แก้]อุลซันฮุนได | 3–0 | เมลเบิร์นวิกตอรี |
---|---|---|
ยอห์นเซน 65', 86' ว็อน ดู-แจ 77' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส | 2–3 | ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ |
---|---|---|
อีริก 20' โอไนวู 90+1' |
รายงานสด รายงานสด |
คิม แต-ฮวัน 57' คิม มิน-วู 82' ฮัน ซ็อก-จ็อง 87' |
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]สรุปผลการแข่งขัน
[แก้]ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, สี่ทีมที่มาจากโซนตะวันตกลงเล่นในสองคู่, และสี่ทีมที่มาจากโซนตะวันออกลงเล่นในสองคู่, กับกำหนดแมตช์ที่จะตัดสินโดยการจับสลาก, ไม่มีการมีทีมวางใดๆ หรือระบบการป้องกันประเทศ. การจับสลากสำหรับโซนตะวันตก รอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2563,[8][9] และการจับสลากสำหรับโซนตะวันออก รอบก่อนรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2563.[10][11]
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัล-นัสเซอร์ | 2–0 | อัลอะฮ์ลี |
เพร์สโพลีส | 2–0 | ปัคห์ตากอร์ |
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อุลซันฮุนได | 2–0 | เป่ย์จิง เอฟซี |
วิสเซล โคเบะ | 1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 7–6) |
ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ |
โซนตะวันตก
[แก้]อัล-นัสเซอร์ | 2–0 | อัลอะฮ์ลี |
---|---|---|
มาร์ตีเนซ 13' อาซิริ 55' |
รายงานสด รายงานสถิติ |
เพร์สโพลีส | 2–0 | ปัคห์ตากอร์ |
---|---|---|
อาเลกาซีร์ 49', 66' | รายงานสด รายงานสถิติ |
โซนตะวันออก
[แก้]อุลซันฮุนได | 2–0 | เป่ย์จิง เอฟซี |
---|---|---|
ฌูนีโอร์ 21' (ลูกโทษ), 42' | รายงานสด รายงานสถิติ |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]สรุปผลการแข่งขัน
[แก้]ในรอบรองชนะเลิศ, ผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศสองคู่ที่มาจากโซนตะวันตกลงเล่นพบกับทีมอื่น, และผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศสองคู่ที่มาจากโซนตะวันออกลงเล่นพบกับทีมอื่น.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อัล-นัสเซอร์ | 1–1 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 3–5) |
เพร์สโพลีส |
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
อุลซันฮุนได | 2–1 (ต่อเวลา) |
วิสเซล โคเบะ |
โซนตะวันตก
[แก้]อัล-นัสเซอร์ | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | เพร์สโพลีส |
---|---|---|
ฮัมดัลลาห์ 36' (ลูกโทษ) | รายงานสด รายงานสถิติ |
อับดี 42' |
ลูกโทษ | ||
มาดู มาร์ตีเนซ อัล-โอบาอิด ไมกง |
3–5 | คานาอานิซาเดกัน เนมาติ ซาร์ลัก คาลิลซาเดห์ โชจาอี |
โซนตะวันออก
[แก้]อุลซันฮุนได | 2–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | วิสเซล โคเบะ |
---|---|---|
จอห์นเซน 81' ฌูนีโอร์ 119' (ลูกโทษ) |
รายงานสด รายงานสถิติ |
ยะมะกุชิ 52' |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]ในรอบชิงชนะเลิศ, ผู้ชนะรอบรองชนะเลิศสองคู่จะลงเล่นพบกันเอง, ที่ อัล จานูบสเตเดียม ใน อัล วาคราห์, ประเทศกาตาร์.[13]
เพร์สโพลีส | 1–2 | อุลซันฮุนได |
---|---|---|
อับดี 45' | รายงานสด รายงานสถิติ |
ฌูนีโอร์ เนเกรา 45+4', 55' (ลูกโทษ) |
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ รอบรองชนะเลิศของโซนตะวันออกตามกำหนดเดิมที่จะต้อลงเล่นที่ อัล จานูบสเตเดียม, อัล วาคราห์, แต่ต่อมาได้ถูกย้ายไป สนามกีฬาจัสซิมบินฮาหมัด, โดฮา, เพื่อให้แน่ใจว่ามีสภาพสนามที่เหมาะสมสำหรับรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศ.[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "AFC Competitions Calendar 2020". Asian Football Confederation. 6 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-06. สืบค้นเมื่อ 2020-12-09.
- ↑ "2020 AFC Champions League Competition Regulations". Asian Football Confederation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-31. สืบค้นเมื่อ 2020-12-09.
- ↑ "East Zone teams agree to new dates". AFC. 2 March 2020.
- ↑ "AFC Emergency Meetings conclude in Doha and Dubai". AFC. 8 March 2020.
- ↑ "AFC reiterates commitment to complete 2020 competitions with new calendar". AFC. 9 July 2020.
- ↑ "AFC Champions League revised schedule". Asian Football Confederation. 9 July 2020.
- ↑ "AFC Executive Committee announces updates to 2020 competitions calendar". Asian Football Confederation. 9 September 2020.
- ↑ 8.0 8.1 "AFC Champions League (West): Quarter-finalists confirmed". AFC. 27 September 2020.
- ↑ 9.0 9.1 "AFC Champions League (West): Quarter-finals decided". AFC. 28 September 2020.
- ↑ 10.0 10.1 "2020 AFC Champions League (East): Quarter-final cast finalised". AFC. 7 December 2020.
- ↑ 11.0 11.1 "Epic clashes ahead following 2020 AFC Champions League (East) knockout stage draw". AFC. 8 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League (East) Semi-final moved to Jassim bin Hamad Stadium". AFC. 11 December 2020.
- ↑ "AFC Champions League Final to be played in Doha, Qatar". AFC. 16 October 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC Champions League, the-AFC.com
- AFC Champions League 2020, stats.the-AFC.com