ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 รอบแพ้คัดออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 รอบแพ้คัดออก จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน ถึง 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562.[1] 16 ทีมทั้งหมดเข้าร่วมการแข่งขันในรอบแพ้คัดออกที่จะตัดสินหาทีมชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019.[2]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

[แก้]

แชมป์และรองแชมป์ของแต่ละกลุ่มจากแปดกลุ่มใน รอบแบ่งกลุ่ม ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย. ทั้งโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–ดี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม อี–เอช) จะมีแปดทีมที่ผ่านเข้ารอบ.

โซน กลุ่ม แชมป์กลุ่ม รองแชมป์กลุ่ม
โซนตะวันตก เอ อิหร่าน ซอบ อาฮาน ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์
บี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด
ซี ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล
ดี ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี
โซนตะวันออก อี จีน ชานตงหลู่เหนิง ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์
เอฟ ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
จี เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
เอช เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี

รูปแบบการแข่งขัน

[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในระบบแพ้คัดออก, กับทีมที่ถูกแบ่งระหว่างสองโซนจนกระทั่งมาถึงรอบชิงชนะเลิศ. โดยแต่ละสายจะลงเล่นในรูปแบบสองนัดเหย้าและเยือน. กฎยิงประตูทีมเยือน, การต่อเวลาพิเศษ (ประตูทีมเยือนไม่สามารถนำมาใช้ในการต่อเวลาพิเศษ) และ การดวลลูกโทษ เป็นการใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศในกรณีที่จำเป็น (บทความที่ 11.3).[2].[2]


ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบจะมีดังนี้.[1] แต่ละนัดในโซนตะวันตกจะลงเล่นในทุกวันจันทร์และทุกวันอังคาร, ในขณะที่แต่ละนัดในโซนตะวันออกจะลงเล่นในทุกวันอังคารและทุกวันพุธ.

รอบ เลกแรก เลกสอง
รอบ 16 ทีมสุดท้าย 18–19 มิถุนายน 2562 (ตะวันออก),
5–6 สิงหาคม 2562 (ตะวันตก)
25–26 มิถุนายน 2562 (ตะวันออก),
12–13 สิงหาคม 2562 (ตะวันตก)
รอบก่อนรองชนะเลิศ (รอบ 8 ทีมสุดท้าย) 26–28 สิงหาคม 2562 16–18 กันยายน 2562
รอบรองชนะเลิศ 1–2 ตุลาคม 2562 22–23 ตุลาคม 2562
รอบชิงชนะเลิศ 9 พฤศจิกายน 2562 24 พฤศจิกายน 2562

สายการแข่งขัน

[แก้]

สายการแข่งขันของรอบแพ้คัดออกเป็นไปตามกำหนดดังนี้:

รอบ การจับประกบคู่
รอบ 16 ทีมสุดท้าย (แชมป์กลุ่มจะได้เป็นเจ้าบ้านเลกที่สอง)
รอบก่อนรองชนะเลิศ (การจับประกบคู่และคำสั่งของแต่ละเลกขึ้นอยู่กับการจับสลาก, เชื่อมโยงสี่ผู้ชนะรอบ 16 ทีมสุดท้ายแต่ละคู่ในโซนตะวันตกและโซนตะวันออก)
รอบรองชนะเลิศ (ผู้ชนะ QF1 และ QF3 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกแรก, ผู้ชนะ QF2 และ QF4 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง)
รอบชิงชนะเลิศ (ผู้ชนะ SF2 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกแรก, ผู้ชนะ SF1 จะเป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, เป็นการกลับตรงกันข้ามจากนัดชิงชนะเลิศฤดูกาลที่ผ่านมา)
  • ผู้ชนะ SF1 vs. ผู้ชนะ SF2

สายการแข่งขันได้ตัดสินหลังเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ, ซึ่งได้จัดขึ้นหลังจบรอบ 16 ทีมสุดท้ายเสร็จสิ้น.

  รอบ 16 ทีมสุดท้าย รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                                             
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ 1 3 4  
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา 1 2 3  
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ 2 1 3  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 3 4  
 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 1 1 2
 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 3 4  
   ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 4 5  
โซนตะวันตก
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 4 2 6  
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด 2 4 6  
 อิหร่าน ซอบ อาฮาน 1 3 4  
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด 0 1 1
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 0 3 3  
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 2 1 3
 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 4 0 4  
   ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 1 2 3
   ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 0 0 0
 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
(ลูกโทษ)
1 1 (5)  
 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 1 1 (3)  
   จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 2 1 3
   ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ () 2 1 3  
 ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 1 3 4
 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 2 0 2  
   ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 2 1 3
โซนตะวันออก
   จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 0 0 0  
 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
(ลูกโทษ)
2 2 (6)  
 จีน ชานตงหลู่เหนิง 1 3 (5)  
   จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ () 0 1 1
   ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 0 1 1  
 ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ () 1 2 3
 ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ 0 3 3  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

ในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, ทีมที่ชนะเลิศของหนึ่งกลุ่มจะลงเล่นพบกับทีมรองชนะเลิศของอีกกลุ่มที่มาจากโซนเดียวกัน, กับแชมป์กลุ่มที่จะได้เป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, และแมตช์การแข่งขันขึ้นอยู่กับผลการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันตก
อัล-นัสเซอร์ ซาอุดีอาระเบีย 4–3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาห์ดา 1–1 3–2
อัล-อิตติฮัด ซาอุดีอาระเบีย 6–4 อิหร่าน ซอบ อาฮาน 2–1 4–3
อัล-ดูฮาอิล ประเทศกาตาร์ 2–4 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1–1 1–3
อัล-อาห์ลี ซาอุดีอาระเบีย 3–4 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 2–4 1–0


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันออก
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ญี่ปุ่น 3–3 () ญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ 1–0 2–3
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ จีน 4–4 (6–5 ) จีน ชานตงหลู่เหนิง 2–1 2–3
(ต่อเวลา)
อูราวะ เรดไดมอนส์ ญี่ปุ่น 4–2 เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 1–2 3–0
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี จีน 2–2 (5–3 ) เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 1–1 1–1
(ต่อเวลา)


โซนตะวันตก

[แก้]

รวมผลสองนัด อัล-นัสเซอร์ ชนะ 4–3.


รวมผลสองนัด อัล-อิตติฮัด ชนะ 6–4.


รวมผลสองนัด อัล-ซาดด์ ชนะ 4–2.


รวมผลสองนัด อัล-ฮิลาล ชนะ 4–3.

โซนตะวันออก

[แก้]

รวมผลสองนัด เสมอ 3–3. คาชิมะ แอนต์เลอส์ ชนะด้วยกฏประตูทีมเยือน.


รวมผลสองนัด เสมอ 4–4. กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ชนะลูกโทษ 6–5.


รวมผลสองนัด อูราวะ เรด ไดมอนส์ ชนะ 4–2.


รวมผลสองนัด เสมอ 2–2. เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี ชนะลูกโทษ 5–3.

รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019).[3] ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, ทีมที่ชนะเลิศของหนึ่งกลุ่มจะลงเล่นพบกับทีมรองชนะเลิศของอีกกลุ่มที่มาจากโซนเดียวกัน, กับแชมป์กลุ่มที่จะได้เป็นเจ้าบ้านในเลกที่สอง, และแมตช์การแข่งขันขึ้นอยู่กับผลการจับสลาก, นอกเหนือจากทีมวางหรือระบบการป้องกันประเทศ.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันตก
อัล-นัสเซอร์ ซาอุดีอาระเบีย 3–4 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 2–1 1–3
อัล-อิตติฮัด ซาอุดีอาระเบีย 1–3 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 0–0 1–3


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
โซนตะวันออก
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี จีน 3–3 () ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 2–2 1–1
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ จีน 1–1 () ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ 0–0 1–1


โซนตะวันตก

[แก้]

รวมผลสองนัด อัล-ซาดด์ ชนะ 4–3.


รวมผลสองนัด อัล-ฮิลาล ชนะ 3–1.

โซนตะวันออก

[แก้]

รวมผลสองนัด เสมอ 3–3. อูราวะ เรดไดมอนส์ ชนะด้วยกฏประตูทีมเยือน.


รวมผลสองนัด เสมอ 1–1. กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ชนะด้วยกฏประตูทีมเยือน.

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันตก
อัล-ซาดด์ ประเทศกาตาร์ 5–6 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 1–4 4–2


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โซนตะวันออก
อูราวะ เรดไดมอนส์ ญี่ปุ่น 3–0 จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 2–0 1–0


โซนตะวันตก

[แก้]

รวมผลสองนัด อัล-ฮิลาล ชนะ 6–5.

โซนตะวันออก

[แก้]

รวมผลสองนัด อูราวะ เรดไดมอนส์ ชนะ 3–0.

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

ในรอบชิงชนะเลิศ, ทีมผู้ชนะรอบรองชนะเลิศทั้งสองคู่จะลงเล่นพบกันเอง, ตามคำสั่งของเลก (เลกแรกเป็นเจ้าภาพโดยทีมที่มาจากโซนตะวันตก, เลกที่สองเป็นเจ้าภาพโดยทีมที่มาจากโซนตะวันออก) ย้อนกลับมาจากรอบชิงชนะเลิศของฤดูกาลที่ผ่านมา.

รวมผลสองนัด อัล-ฮิลาล ชนะ 3–0.

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 แมตช์ระหว่างทีมที่มาจากอิหร่านและซาอุดิอาระเบียถูกคาดว่าจะได้ลงเล่นในสนามเป็นกลางเนื่องจากการเสื่อมสภาพของ ความสัมพันธ์อิหร่าน–ซาอุดิอาระเบีย.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "AFC Competitions Calendar 2019". AFC. 6 April 2018.
  2. 2.0 2.1 2.2 "2019 AFC Champions League Competition Regulations". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-03. สืบค้นเมื่อ 2019-05-08.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ko draw

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]