ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2017
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม
เมืองนครโฮจิมินห์
วันที่20–30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ทีม14 (จาก 14 สมาคม)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศไทย ชลบุรี บลูเวฟ (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศอิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน
อันดับที่ 3เวียดนาม ท้ายเซินนัม
อันดับที่ 4ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน26
จำนวนประตู155 (5.96 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม26,950 (1,037 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไทย จิรวัฒน์ สอนวิเชียร (9 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิหร่าน อาลี อัสก์ฮาร์ ฮัสซันซาเดห์
รางวัลแฟร์เพลย์เวียดนาม ท้ายเซินนัม
2016
2018
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2017 หรือ การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2017 เป็นการแข่งขันสโมสรฟุตซอลอาชีพของทวีปเอเชีย ครั้งที่ 8 ภายใต้การรับรองจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20–30 กรกฎาคม 2560 ที่นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม[1]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทั้งหมด 14 ทีม จาก 14 ชาติสมาชิกของเอเอฟซี ที่มีส่วนร่วมในการแข่งขัน.

สมาคม ทีม วิธีการเข้ารอบ
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส ชนะเลิศ เอฟ-ลีก ฤดูกาล 2016
จีน จีน เซิ่นเจิ้น หนานหลิง ชนะเลิศ ไชนีสฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม ชนะเลิศ อินโดนีเซียโปรฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17
อิหร่าน อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน ชนะเลิศ อินหร่านฟุตซอลซูเปอร์ลีก ฤดูกาล 2016–17
อิรัก อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต ชนะเลิศ อิรักฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ไชรเคอร์ โอซากะ ชนะเลิศ เอฟ. ลีก ฤดูกาล 2016–17
คีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน อ็อช อีเร็ม ชนะเลิศ คีร์กีซสถานฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17[2][3]
เลบานอน เลบานอน แบงก์ออฟเบรุต ชนะเลิศ เลบานอนฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ อัล รายยาน ชนะเลิศ กาตาร์ฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17
ทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน ดีซี อินเวสต์ ชนะเลิศ ทาจิกิสถาน ฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17[4]
ไทย ไทย ชลบุรี บลูเวฟ ชนะเลิศ ไทยแลนด์ฟุตซอลลีก 2559
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ดาฟราห์ ชนะเลิศ ยูเออีฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016–17
อุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน อัลมาลีก ชนะเลิศ อุซเบกิสถานฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016
เวียดนาม เวียดนาม (เจ้าภาพ) ท้ายเซินนัม ชนะเลิศ เวียดนามฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2016

สนามแข่งขัน[แก้]

แมตช์แต่ละนัดจะจัดขึ้นที่ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียมในนครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม
ความจุ: 5,000
เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2017ตั้งอยู่ในประเทศเวียดนาม
ฟู้เถอะ อินดอร์ สเตเดียม
ฟู้เถอะ
อินดอร์
สเตเดียม
เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2017 (ประเทศเวียดนาม)

ผู้เล่น[แก้]

แต่ละทีมจะมีการลงทะเบียนผู้เล่นจำนวน 14 คน โดยมีผู้รักษาประตูอย่างน้อยสองคน[5]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น ICT (UTC+7)

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ดาฟราห์ 3 2 0 1 8 3 +5 6[a] รอบแพ้คัดออก
2 เวียดนาม ท้ายเซินนัม (H) 3 2 0 1 15 7 +8 6[a]
3 คีร์กีซสถาน อีเร็ม 3 2 0 1 6 8 −2 6[a]
4 ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส 3 0 0 3 3 14 −11 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 Head-to-head: อัล ดาฟราห์ (3 pts, +2 GD, 4 GF), ท้ายเซินนัม (3 pts, +1 GD, 6 GF), อีเร็ม (3 pts, −3 GD, 5 GF).
อัล ดาฟราห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์4–1ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส
เฮนมิ ประตู 2'17'
นาสซีเมนตู ประตู 31'38'
รายงาน อาลิเนญาด ประตู 14'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: หลี่ โพ-ฟู (จีนไทเป)
ท้ายเซินนาม เวียดนาม4–5คีร์กีซสถาน อีเร็ม
ฮหว่า ประตู 8'
นาม ประตู 34'
จี๊ ประตู 38'
ทายเยบี ประตู 40'
รายงาน คาดืยรอฟ ประตู 19'
อาลีมอฟ ประตู 19'31'37'
อูลันเบ็ค ประตู 38'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 3,800 คน
ผู้ตัดสิน: มาห์มุดเรซา นาซีร์ลู (อิหร่าน)

อีเร็ม คีร์กีซสถาน0–4สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ดาฟราห์
รายงาน ญามิล ประตู 24'
นาสซีเมนตู ประตู 36'38'
อัล-ฮัมมาดี ประตู 39'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 250 คน
ผู้ตัดสิน: คิม ชง-ฮี (เกาหลีใต้)
วิค ไวเปอร์ส ออสเตรเลีย2–9เวียดนาม ท้ายเซินนาม
บาร์รีเอนโตส ประตู 30'
คอนสแตนทินิดิส ประตู 39'
รายงาน นาม ประตู 2'10'25'
ลวน ประตู 5'25'
ฮวี ประตู 13'
ทายเยบี ประตู 18' (ลูกโทษ)35'
หวู ประตู 27'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 3,400 คน
ผู้ตัดสิน: โมฮาหมัด ชามี (เลบานอน)

วิค ไวเปอร์ส ออสเตรเลีย0–1คีร์กีซสถาน อีเร็ม
รายงาน คุลตาเอฟ ประตู 20'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 250 คน
ผู้ตัดสิน: เฮลเดย์ อีดัง (มาเลเซีย)
ท้ายเซินนาม เวียดนาม2–0สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ดาฟราห์
ทายเยบี ประตู 8'16' รายงาน
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 3,400 คน
ผู้ตัดสิน: หลิว เจียนเชียว (จีน)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 3 3 0 0 17 7 +10 9 รอบแพ้คัดออก
2 ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน 3 2 0 1 6 6 0 6
3 อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม 3 1 0 2 9 10 −1 3
4 ทาจิกิสถาน ดีซี อินเวสต์ 3 0 0 3 5 14 −9 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
อัล รายยาน ประเทศกาตาร์2–1อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม
คอสตา ประตู 8'40' รายงาน ซัปตาจี ประตู 39'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: ฮิโรยุกิ โคะบะยะชิ (ญี่ปุ่น)
นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก7–2ทาจิกิสถาน ดีซี อินเวสต์
บาฮาโดรี ประตู 5'7'17'18'33'
อาเบ็ด ประตู 31'
เอเอซา ประตู 37'
รายงาน ฮาลีมอฟ ประตู 5'
ฌูนาตัน ประตู 33'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: หลิว เจียนเชียว (จีน)

ดีซี อินเวสต์ ทาจิกิสถาน1–2ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน
ซาเดะห์ ประตู 30' รายงาน อารันเตส ประตู 2'
โอลีเวียรา ประตู 17'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 200 คน
วามอส มาตาราม อินโดนีเซีย3–6อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต
ซาอุด ประตู 24'
กุสตีอาวัน ประตู 35'40'
รายงาน ทาวาโคลี ประตู 2'
อาเบ็ด ประตู 13'19'
ฟาเฮ็ม ประตู 22'
ดาคีล ประตู 26'
เอเอซา ประตู 28'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 100 คน

วามอส มาตาราม อินโดนีเซีย5–2ทาจิกิสถาน ดีซี อินเวสต์
กุสตีอาวัน ประตู 2'8'19'
อาเบดิน ประตู 31'34'
รายงาน ติลโลโซดา ประตู 8'
เบคมูโรดอฟ ประตู 39'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 150 คน
ผู้ตัดสิน: Hussain Ali Al-Bahhar (บาห์เรน)
นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก4–2ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน
ฟาเฮ็ม ประตู 1'
ทาวาโคลี ประตู 1'
บาฮาโดรี ประตู 39'40'
รายงาน เซลิม ประตู 27'
ทาเฮรี ประตู 36'
ผู้ชม: 100
ผู้ตัดสิน: โทะโมะฮิโระ โคซะกิ (ญี่ปุ่น)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน 2 2 0 0 10 2 +8 6 รอบแพ้คัดออก
2 ญี่ปุ่น ไชรเคอร์ โอซะกะ 2 1 0 1 7 4 +3 3
3 จีน เซิ่นเจิ้น หนานหลิง 2 0 0 2 1 12 −11 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
เซิ่นเจิ้น หนานหลิง จีน1–5ญี่ปุ่น ไชรเคอร์ โอซากะ
ฮาฟีซี ประตู 6' รายงาน โฮริโงเมะ ประตู 5'
โอโซโดะ ประตู 10'
อูลีเวียรา ประตู 16'
ชิบาโนะ ประตู 22'
ซาโต ประตู 37'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Rey Ritaga (ฟิลิปปินส์)

กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน อิหร่าน7–0จีน เซิ่นเจิ้น หนานหลิง
Savarchi ประตู 6'
Hassanzadeh ประตู 6'
Esmaeilpour ประตู 7'26'30'
Keshavarz ประตู 14'
Jaberidoraki ประตู 37'
รายงาน
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 250 คน
ผู้ตัดสิน: Nurdin Bukuev (คีร์กีซสถาน)

ไชรเคอร์ โอซากะ ญี่ปุ่น2–3อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน
ชิบาโนะ ประตู 1'30' รายงาน Savarchi ประตู 4'10'
Hassanzadeh ประตู 40'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Darius Turner (ออสเตรเลีย)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 2 2 0 0 14 0 +14 6 รอบแพ้คัดออก
2 เลบานอน แบงก์ ออฟ เบรุต 2 1 0 1 8 12 −4 3
3 อุซเบกิสถาน อัลมาลีก 2 0 0 2 3 13 −10 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
แบงก์ ออฟ เบรุต เลบานอน0–9ไทย ชลบุรี บลูเวฟ
รายงาน จิรวัฒน์ ประตู 7'9'19'26'36'
ศุภวุฒิ ประตู 16'17'
เจษฎา ประตู 31'
พีรพัฒน์ ประตู 34'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: โทะโมะฮิโระ โคซะกิ (ญี่ปุ่น)

อัลมาลีก อุซเบกิสถาน3–8เลบานอน แบงก์ ออฟ เบรุต
อีร์ซาลีเยฟ ประตู 18'
ยูนูซอฟ ประตู 22'
เซอร์ฮัน ประตู 38' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน โทมิช ประตู 5'30'
เซอร์ฮัน ประตู 12'
ฮัมมุด ประตู 26'
เซอิด ประตู 30'
ดีเน ประตู 35'
สวีรีดอฟ ประตู 38' (เข้าประตูตัวเอง)
ยาฟารี ประตู 40'
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: เจือง โกว๊ก ดุ๊ง (เวียดนาม)

ชลบุรี บลูเวฟ ไทย5–0อุซเบกิสถาน อัลมาลีก
กฤษดา ประตู 1'
ศุภวุฒิ ประตู 34'
รณชัย ประตู 36'
พีรพัฒน์ ประตู 38'
อภิวัฒน์ ประตู 40'
รายงาน
ฟู้เถอะอินดอร์สเตเดียม นครโฮจิมินห์
ผู้ชม: 250 คน
ผู้ตัดสิน: หลี่ โพ-ฟู (จีนไทเป)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
27 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
 
อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน2
 
28 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
เลบานอน แบงก์ ออฟ เบรุต0
 
อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน4
 
27 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน2
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ดาฟราห์3
 
30 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน4
 
อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน2
 
27 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
ไทย ชลบุรี บลูเวฟ3
 
ไทย ชลบุรี บลูเวฟ4
 
28 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
ญี่ปุ่น ไชรเคอร์ โอซะกะ2
 
ไทย ชลบุรี บลูเวฟ6
 
27 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
เวียดนาม ไท ซอน นัม0 นัดชิงอันดับที่ 3
 
อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต0
 
30 กรกฎาคม – โฮจิมินห์ ซิตี
 
เวียดนาม ไท ซอน นัม4
 
ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน1
 
 
เวียดนาม ไท ซอน นัม6
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]



นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก0–4เวียดนาม ไท ซอน นัม
รายงาน Trí ประตู 34'36'
ประตู 38'
Hòa ประตู 40'

อัล ดาฟราห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์3–4ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน
Nascimento ประตู 17'29'
Al-Jaberi ประตู 40'
รายงาน Costa ประตู 9'11'
Taheri ประตู 25'
Arantes ประตู 35'

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

ไท ซอน นัม เวียดนาม6–1ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน
ประตู 18'
Luan ประตู 31'
Tayebi ประตู 33'40'
Huy ประตู 37'
Baptista ประตู 38'
รายงาน Selim ประตู 6'

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ตารางหลังจบการแข่งขัน[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน หลังจบการแข่งขัน
1 ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 5 5 0 0 27 4 +23 15 ชนะเลิศ
2 อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน 5 4 0 1 17 11 +6 12 รองชนะเลิศ
3 เวียดนาม ไท ซอน นัม (H) 6 4 0 2 25 14 +11 12 อันดับที่สาม
4 ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน 6 3 0 3 13 19 −6 9 อันดับที่สี่
5 อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 4 3 0 1 15 7 +8 9 ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ดาฟราห์ 4 2 0 2 11 7 +4 6
7 ญี่ปุ่น ไชรเคอร์ โอซะกะ 3 1 0 2 9 8 +1 3
8 เลบานอน แบงก์ ออฟ เบรุต 3 1 0 2 8 14 −6 3
9 คีร์กีซสถาน อ็อช อีเร็ม 3 2 0 1 6 8 −2 6 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10 อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม 3 1 0 2 9 10 −1 3
11 จีน เซิ่นเจิ้น หนานหลิง 3 0 1 2 1 12 −11 1
12 ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส 3 0 0 3 3 14 −11 0
13 อุซเบกิสถาน อัลมาลีก 2 0 0 2 3 13 −10 0
14 ทาจิกิสถาน ดีซี อินเวสต์ 3 0 0 3 5 14 −9 0
แหล่งที่มา : Pending
(H) เจ้าภาพ.

รางวัล[แก้]

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ
แชมเปียนส์ 2017
ไทย
ชลบุรี บลูเวฟ
สมัยที่สอง

สถิติ[แก้]

ผู้ทำประตู[แก้]

อันดับ ผู้เล่น ทีม ประตู
1 ไทย จิรวัฒน์ สอนวิเชียร ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 9
2 อิหร่าน ฮอสเซน ทาเยบี เวียดนาม ไท ซอน นัม 8
3 ไทย ศุภวุฒิ เถื่อนกลาง ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 7
อิหร่าน อาห์หมัด เอสมาอิลปูร์ อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน
อิหร่าน กอดรัต บาฮาดอรี อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต
6 บราซิล วิลเลียมส์ นัสซีเมนตู สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ดาฟราห์ 6
7 อินโดนีเซีย อันดรี คุสเตียวัน อินโดนีเซีย วามอส มาตาราม 5
8 บราซิล ดีเอกู โกสตา ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน 4
ประเทศกาตาร์ ฟลาวิโอ บาร์เรโต อารันเรส ประเทศกาตาร์ อัล รายยาน
อิหร่าน อาลี อัสก์ฮาร์ ฮัสซันซาเดห์ อิหร่าน กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน
ญี่ปุ่น โซตะ ชิบาโนะ ญี่ปุ่น ไชรเคอร์ โอซะกะ
เวียดนาม เล กวอก นาม เวียดนาม ไท ซอน นัม
แหล่งที่มา: the-afc.com

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 เมษายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. Суперлига по футзалу: EREM - чемпион!
  3. Клубный чемпионат АФК по футзалу: Кыргызстан снова в строю!
  4. «ДИСИ ИНВЕСТ» УЗНАЛ ПОТЕНЦИАЛЬНЫХ СОПЕРНИКОВ ПО КЛУБНОМУ ЧЕМПИОНАТУ АЗИИ-2017
  5. "AFC Futsal Club Championship 2017 Competition Regulations" (PDF). AFC.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]