ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพประเทศไทย
เมืองกรุงเทพมหานคร
วันที่15–23 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ทีม12 (จาก 12 สมาคม)
สถานที่1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศอิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต
อันดับที่ 3ไทย ชลบุรี บลูเวฟ
อันดับที่ 4สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล-ฮิสซิน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน20
จำนวนประตู104 (5.2 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม64,600 (3,230 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไทย จิรวัฒน์ สอนวิเชียร (7 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิหร่าน ฟาร์ฮัด ทาวาโคลี
รางวัลแฟร์เพลย์สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล-ฮิสซิน
2015
2017

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2016 หรือ การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2016 เป็นการแข่งขันสโมสรฟุตซอลอาชีพของทวีปเอเชีย ครั้งที่ 7 ภายใต้การรับรองจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 15 - 23 กรกฎาคม 2559

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทั้งหมด 12 ทีมจาก 12 ชาติสมาชิกของเอเอฟซี ที่มีส่วนร่วมในการแข่งขัน.[1]

สมาคม ทีม วิธีการเข้ารอบ
อิหร่าน Iran ทาซิซัต ดาร์ยาอี เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2015 ชนะเลิศ / อิหร่านฟุตซอลซูเปอร์ลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ
ญี่ปุ่น Japan นะโงะยะ โอเชียนส์ 2014–15 เอฟลีก ชนะเลิศ
ไทย ไทย ชลบุรี บลูเวฟ ตัวแทนเจ้าภาพ /ไทยแลนด์ฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ
จีน China ต้าเหลียน หยวน ไดนาสตี ไชนีสฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ
อุซเบกิสถาน Uzbekistan อัลมาลิก อุซเบกิสถานฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2015 ชนะเลิศ
ออสเตรเลีย Australia วิค ไวเปอร์ส เอฟ-ลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ
จีนไทเป Chinese Taipei ไทพาวเวอร์ เอฟซี ไชนีสไทเปซูเปอร์ลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ
ประเทศกาตาร์ Qatar อัล ซาดด์ กาตาร์ฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ
เวียดนาม Vietnam ซานนา คานห์ ฮัว เวียดนามฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2015 ชนะเลิศ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ United Arab Emirates ดิบบา อัล ฮิสซิน ยูเออีฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2014–15 ชนะเลิศ
อิรัก Iraq นาฟต์ อัล-วาซาต อิรักฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ
เลบานอน Lebanon อัล มายาดีน เลบานอนฟุตซอลลีก ฤดูกาล 2015–16 ชนะเลิศ

สนามแข่งขัน[แก้]

แมตช์แต่ละนัดจะลงเล่นที่ บางกอกอารีนา ใน กรุงเทพมหานคร.

ผู้เล่น[แก้]

แต่ละทีมจะมีการส่งผู้เล่น 14 คน, รวมไปถึงอย่างน้อยผู้รักษาประตูสองคน.[2]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ไทย ชลบุรี บลูเวฟ (H) 2 2 0 0 9 4 +5 6 รอบแพ้คัดออก
2 ญี่ปุ่น นะโกะยะ โอเชียนส์ 2 0 1 1 3 5 −2 1
3 ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส 2 0 1 1 5 8 −3 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
ชลบุรี บลูเวฟ ไทย6–3ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส
จิรวัฒน์ ประตู 16'17'
ศุภวุฒิ ประตู 23'
สราวุฒิ ประตู 32'
Barrientos ประตู 35 (og.)'
สรศักดิ์ ประตู 38'
รายงาน Alinejad ประตู 9'
Barrientos ประตู 24'
จิรวัฒน์ ประตู 27 (og.)'
ผู้ชม: 5,600 คน
ผู้ตัดสิน: โมฮาหมัด ชามี เลบานอน

นะโงะยะ โอเชียนส์ ญี่ปุ่น2–2ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส
Tomoki ประตู 16'
Yoshio ประตู 33'
รายงาน Alinejad ประตู 30'
Cooper ประตู 32'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: อัน หรัน จีน

ชลบุรี บลูเวฟ ไทย3–1ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์
จิรวัฒน์ ประตู 2'
ศุภวุฒิ ประตู 27'
เจษฎา ประตู 35'
รายงาน Ryohei ประตู 26'
ผู้ชม: 10,200 คน
ผู้ตัดสิน: Mahmoud Reza Nasirloo อิหร่าน

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 อิหร่าน ทาซิซัต ดาร์ยาอี 2 2 0 0 10 5 +5 6 รอบแพ้คัดออก
2 อุซเบกิสถาน อัลมาลิก 2 0 1 1 5 6 −1 1
3 เลบานอน อัล มายาดีน 2 0 1 1 4 8 −4 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ทาซิซัต ดาร์ยาอี อิหร่าน4–3อุซเบกิสถาน อัลมาลิก
Tayebi ประตู 4'38'
Abbasi ประตู 17'32'
รายงาน Farkhod ประตู 12'13'
Javlon ประตู 39'
ผู้ชม: 300 คน
ผู้ตัดสิน: ยุทธกร ไม้เกตุ ไทย

อัล มายาดีน เลบานอน2–2อุซเบกิสถาน อัลมาลิก
Takaji ประตู 4'20' รายงาน Sharipov ประตู 3'
Sviridov ประตู 31'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Hasan Mohammed Mousa Al-Gburi อิรัก

ทาซิซัต ดาร์ยาอี อิหร่าน6–2เลบานอน อัล มายาดีน
Tayebi ประตู 20'21'24'
Vafaei ประตู 36'38'
Shamsaee ประตู 38'
รายงาน Dragan Tomic ประตู 24'
Kobeissy ประตู 25'
ผู้ชม: 4,000 คน
ผู้ตัดสิน: Chan Ka Chung ฮ่องกง

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 2 1 1 0 7 3 +4 4 รอบแพ้คัดออก
2 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 2 0 2 0 3 3 0 2
3 จีน ต้าเหลียน หยวน ไดนาสตี 2 0 1 1 2 6 −4 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก2–2สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน
Bahadori ประตู 18'
Hamzah ประตู 29'
รายงาน Mario Claudio ประตู 6'
Abdalla Mohamed ประตู 31'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Rey Ritaga ฟิลิปปินส์


นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก5–1จีน ต้าเหลียน หยวน ไดนาสตี
Hamzah ประตู 11'22'
Ali Jabbar ประตู 21'
Bahadori ประตู 23'
Tavakoli ประตู 36'
รายงาน Hamzah ประตู 28' (og.)
ผู้ชม: 300 คน
ผู้ตัดสิน: Helday Idang มาเลเซีย

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เวียดนาม ซานนา คานห์ ฮัว 2 2 0 0 6 2 +4 6 รอบแพ้คัดออก
2 ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์ 2 1 0 1 6 3 +3 3
3 จีนไทเป ไทพาวเวอร์ เอฟซี 2 0 0 2 0 7 −7 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ซานนา คานห์ ฮัว เวียดนาม3–0จีนไทเป ไทพาวเวอร์ เอฟซี
Nguyen Trung Nam ประตู 20'
Phan Khac Chi ประตู 30'
Tran Van Thanh ประตู 38'
รายงาน
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Husein Mahmoud Husein Khalaileh จอร์แดน

อัล ซาดด์ ประเทศกาตาร์4–0จีนไทเป ไทพาวเวอร์ เอฟซี
Abdullah Salem ประตู 15'27'
Mohamed Ali ประตู 29'32'
รายงาน
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Kozaki Tomohiro ญี่ปุ่น

ซานนา คานห์ ฮัว เวียดนาม3–2ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์
Thanh ประตู 7'
Chi ประตู 16'
Bao ประตู 39'
รายงาน Abdullah Salem ประตู 16'
Ismail Ahmed ประตู 38'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard ออสเตรเลีย

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
19 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
 
เวียดนาม ซานนา คานห์ ฮัว2
 
21 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน6
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน1
 
19 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
ญี่ปุ่น นะโกะยะ โอเชียนส์3
 
อิหร่าน ทาซิซัต ดาร์ยาอี2 (2)
 
23 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
ญี่ปุ่น นะโกะยะ โอเชียนส์ (ลูกโทษ)2 (3)
 
ญี่ปุ่น นะโกะยะ โอเชียนส์4 (6)
 
19 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต4 (5)
 
อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต2
 
21 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์1
 
อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต4
 
19 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
ไทย ชลบุรี บลูเวฟ1 รอบชิงอันดับที่สาม
 
ไทย ชลบุรี บลูเวฟ4
 
23 กรกฎาคม – กรุงเทพมหานคร
 
อุซเบกิสถาน อัลมาลิก1
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน1
 
 
ไทย ชลบุรี บลูเวฟ6
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

ซานนา คานห์ ฮัว เวียดนาม2–6สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน
Thanh ประตู 22'
Tuan ประตู 34'
รายงาน Salim ประตู 26'32'
H.Mohamed ประตู 28'
A.Mohamed ประตู 36'
Ali ประตู 40'
Claudio ประตู 40'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: นูร์ดิน บูคูเอฟ (คีร์กีซสถาน)

นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก2–1ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์
Hamzah ประตู 17'
Jabbar ประตู 20'
รายงาน Shahwani ประตู 10'
ผู้ชม: 400 คน
ผู้ตัดสิน: Kobayashi Hiroyuki (ญี่ปุ่น)

ทาซิซัต ดาร์ยาอี อิหร่าน2–2 (ต่อเวลาพิเศษ)ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์
Tayebi ประตู 5'
Shamsaee ประตู 49'
รายงาน Yoshio ประตู 16'
Koichi ประตู 42'
ลูกโทษ
Reza Sangsefidi Penalty scored
Raeisi Majid Penalty scored
Saeed Ahmad Abbasi Missed
2–3 Ando Ryohei Penalty scored
Yoshikawa Tomoki Penalty scored
Serginho Rodrigo Penalty scored
ผู้ชม: 7,000 คน
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)

ชลบุรี บลูเวฟ ไทย4–1อุซเบกิสถาน อัลมาลิก
เจษฎา ประตู 12'
ศุภวุฒิ ประตู 14'
จิรวัฒน์ ประตู 17'
Xapa ประตู 36'
รายงาน Sharipov ประตู 1'
ผู้ชม: 10,600 คน
ผู้ตัดสิน: อัน หรัน (จีน)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ดิบบา อัล ฮิสซิน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–3ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์
Zeid ประตู 4' รายงาน Yoshio ประตู 11'
Ryohei ประตู 13'
Tomoki ประตู 19'
ผู้ชม: 500 คน
ผู้ตัดสิน: เรย์ ริตากา (ฟิลิปปินส์)

นาฟต์ อัล-วาซาต อิรัก4–1 (ต่อเวลาพิเศษ)ไทย ชลบุรี บลูเวฟ
Bahadori ประตู 40'43' (ลูกโทษ)
Tavakoli ประตู 48'
Fahem ประตู 50'
รายงาน จิรวัฒน์ ประตู 16'
ผู้ชม: 11,050 คน
ผู้ตัดสิน: Truong Quoc Dung (เวียดนาม)

รอบชิงอันดับที่สาม[แก้]

ดิบบา อัล ฮิสซิน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1–6ไทย ชลบุรี บลูเวฟ
Claudio ประตู 5' รายงาน ธนาธร ประตู 15'
สรศักดิ์ ประตู 19'
จิรวัฒน์ ประตู 32'37'
ศุภวุฒิ ประตู 34'
อำพล ประตู 39'
ผู้ชม: 7,000 คน
ผู้ตัดสิน: นูร์ดิน บูคูเอฟ (คีร์กีซสถาน)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

นะโงะยะ โอเชียนส์ ญี่ปุ่น4–4 (ต่อเวลาพิเศษ)อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต
Tomoki ประตู 4'
Kento ประตู 14'
Yoshio ประตู 39'
Ryuta ประตู 49'
รายงาน Bahadori ประตู 8'
Tavakoli ประตู 16'
Dakheel ประตู 33'
Rodrigo ประตู 43' (o.g.)
ลูกโทษ
Ando Ryohei Penalty scored
Yoshikawa Tomoki Penalty scored
Serginho Rodrigo Penalty scored
Maedonchi Matias Hernan Penalty scored
Sakai Rafael Yoshio Penalty scored
Sekiguchi Yushi Penalty scored
6–5 Penalty scored Waleed Khalid Fahem
Penalty scored Ghodrat Bahadori
Penalty scored Farhad Tavakoli
Penalty scored Hasan Ali Dakheel
Penalty scored Kareem Sami Hussein
Missed Saif Abdulmalek Mohammed
ผู้ชม: 6,150 คน
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)

รางวัล[แก้]

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ
แชมเปียนส์ 2016
ญี่ปุ่น
นะโงะยะ โอเชียนส์
สมัยที่สาม

สถิติ[แก้]

ผู้ทำประตู[แก้]

อันดับ ผู้เล่น ทีม MD1 MD2 QF SF TF F ทั้งหมด
1 ไทย จิรวัฒน์ สอนวิเชียร ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 2 1 1 1 2 7
2 อิหร่าน ฮอสเซน ทาเยบี อิหร่าน ทาซิซาต ดาร์ยาอี 2 3 1 6
3 อิหร่าน กอดรัต บาฮาดอรี อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 1 1 2 1 5
4 อิรัก มุสทาฟะห์ บาเคย์ ฮามซะห์ อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 1 2 1 4
ญี่ปุ่น ซะไก ราฟาเอล โยะชิโอะ ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 1 1 1 1 4
ไทย ศุภวุฒิ เถื่อนกลาง ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1 1 1 4
7 ประเทศกาตาร์ อับดุลเลาะห์ ซาเลม ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์ 2 1 3
อิหร่าน ฟาร์ฮัด ทาวาโกลี อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 1 1 1 3
ญี่ปุ่น โยะชิกาวะ โทะโมะกิ ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 1 1 1 3
โปรตุเกส มาริโอ เคลาดิโอ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 1 1 1 3
11 อิหร่าน ชายาน อาลีเนจาด ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส 1 1 2
อิหร่าน อาลีเรซา วาฟาอี อิหร่าน ทาซิซาต ดาร์ยาอี 2 2
อิหร่าน ซาอิด อาห์มัด อับบาซี อิหร่าน ทาซิซาต ดาร์ยาอี 2 2
อิหร่าน วาฮิด ชามซาอี อิหร่าน ทาซิซาต ดาร์ยาอี 1 1 2
อิรัก ฮัสสัน อาลี จับบาร์ อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 1 1 2
ญี่ปุ่น อันโดะ เรียวเฮ ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 1 1 2
เลบานอน คาเลด ทากาจี เลบานอน อัล มายาดีน 2 2
ประเทศกาตาร์ โมฮัมเหม็ด อาลี ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์ 2 2
ไทย เจษฎา ชูเดช ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1 2
ไทย สรศักดิ์ พูนจังหรีด ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1 2
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อับดาลลา โมฮัมเหม็ด สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 1 1 2
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อับดาลลา ซาลิม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 2 2
อุซเบกิสถาน อับดูมาฟเลียนอฟ ฟาร์คอด อุซเบกิสถาน อัลมาลิก 2 2
อุซเบกิสถาน จาโมลิดดิน ชาริปอฟ อุซเบกิสถาน อัลมาลิก 1 1 2
เวียดนาม เหงียน ตรัง นัม เวียดนาม ซานนา คานห์ ฮัว 1 1 2
เวียดนาม ฟาน คัค ชิ เวียดนาม ซานนา คานห์ ฮัว 1 1 2
เวียดนาม ทราน ฟัน ธานห์ เวียดนาม ซานนา คานห์ ฮัว 1 1 2
29 ออสเตรเลีย อดัม สจวร์ต คูเปอร์ ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส 1 1
ออสเตรเลีย โจนาธาน บาร์ริเอนโตส ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส 1 1
บราซิล เตอร์ โอเซนี ดีโอโก จีน ต้าเหลียน หยวน ไดนาสตี 1 1
อิรัก ฮาซาน อาลี ดาคฮีล อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 1 1
อิรัก วาลีด คาลิด ฟาเฮ็ม อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 1 1
ญี่ปุ่น ไซโตะ โคอิจิ ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 1 1
ญี่ปุ่น โฮชิ ริวตะ ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 1 1
ญี่ปุ่น ทะมุระ เคนโตะ ญี่ปุ่น นะโงะยะ โอเชียนส์ 1 1
เซอร์เบีย ดรากัน โทมิค เลบานอน อัล มายาดีน 1 1
เลบานอน โมฮัมหมัด โคเบอิสซี เลบานอน อัล มายาดีน 1 1
ประเทศกาตาร์ โมฮัมเหม็ด อิสมาอิล อาห์เหม็ด อิสมาอิล ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 1
ประเทศกาตาร์ ซาด ไบลาล ซา อา อัล-ชาห์วานี ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1 1
บราซิล รูดิมาร์ เวนันซิโอ ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1
ไทย อำพล ศรีระแก้ว ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1
ไทย สราวุฒิ ใจเพชร ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1
ไทย ธนาธร สันทนาประสิทธิ์ ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาห์เหม็ด อับดาลลา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 1 1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ฮาหมัด โมฮัมเหม็ด สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 1 1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ฮัสสัน อาลี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 1 1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คาริม อาบู เซอิด สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดิบบา อัล ฮิสซิน 1 1
อุซเบกิสถาน อาโนรอฟ จาฟลอน อุซเบกิสถาน อัลมาลิก 1 1
อุซเบกิสถาน คอนสตานติน ซวิริดอฟ อุซเบกิสถาน อัลมาลิก 1 1
เวียดนาม เหงียน ควอค เบา เวียดนาม ซานนา คานห์ ฮัว 1 1
เวียดนาม เล อันห์ ตวน เวียดนาม ซานนา คานห์ ฮัว 1 1
ทำเข้า
ประตูตัวเอง
ออสเตรเลีย โจนาธาน บาร์ริเอนโตส
(ในนัดที่พบกับ ชลบุรี บลูเวฟ)
ออสเตรเลีย วิค ไวเปอร์ส 1 1
อิรัก มุสทาฟะห์ บาเคย์ ฮามซะห์
(ในนัดที่พบกับ ต้าเหลียน หยวน ไดนาสตี)
อิรัก นาฟต์ อัล-วาซาต 1 1
ไทย จิรวัฒน์ สอนวิเชียร
(ในนัดที่พบกับ วิค ไวเปอร์ส)
ไทย ชลบุรี บลูเวฟ 1 1

สิทธิในการออกอากาศ[แก้]

อาณาเขต ช่อง อ้างอิง
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงของประเทศจีน จีน
ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน
ธงของประเทศอิรัก อิรัก
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน
ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์
 ไทย ไทยรัฐทีวี
ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม

อ้างอิง[แก้]

  1. "Stage set for AFC Futsal Club Championship Thailand 2016 draw". AFC. 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. "AFC Futsal Club Championship 2016 Competition Regulations" (PDF). AFC.
  3. AFC FUTSAL CLUB CHAMPIONSHIP THAILAND 2016 TECHNICAL REPORT & STATISTICS

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]