เม่าจงกัง
เม่าจงกัง[1] (ค.ศ. 1632–1709) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า เหมา จงกาง (จีนตัวย่อ: 毛宗岗; จีนตัวเต็ม: 毛宗崗; พินอิน: Máo Zōnggāng) ชื่อรอง ซฺวี่ฉื่อ (จีน: 序始; พินอิน: Xùshǐ) ชื่อศิลปิน จื่ออาน (จีน: 子庵; พินอิน: Zǐ'ān) ร่วมกับบิดาคือ เหมา หลุน (จีนตัวย่อ: 毛纶; จีนตัวเต็ม: 毛綸; พินอิน: Máo Lún) ชื่อรอง เชิงชาน (จีน: 聲山; พินอิน: Shēngshān) เป็นบรรณาธิการและนักวิจารณ์ในยุคราชวงศ์ชิงผู้มีอิทธิพลต่อแนวคิดของนวนิยายจีน
อิทธิพลในฐานะบรรณาธิการและนักวิจารณ์
[แก้]เหมา หลุนและเม่าจงกังพ่อลูกมีชื่อเสียงจากการแก้ไขปรับปรุงและเขียนคำวิจารณ์ให้กับนวนิยายสามก๊ก (三國演義 ซานกั๋วเหยี่ยนอี้) ทั้งสองมักถูกจัดกลุ่มร่วมกับจาง จู๋พัว (張竹坡) และกิมเสี่ยถ่าง (金聖歎 จิน เชิ่งท่าน) ในฐานะนักวิจารณ์/บรรณาธิการผู้ใช้วิธีตู๋ฝ่า (讀法 แปลว่า "วิถีเพื่ออ่าน") ในการตีความนวนิยายโดยใช้มาตรฐานคำศัพท์และการวิจารณ์ ซึ่งก่อนหน้านั้นเคยจำกัดเฉพาะกับกวีนิพนธ์และภาพจิตรกรรม นวัตกรรมนี้ช่วยยกสถานะของนวนิยายสำหรับนักอ่านชาวจีน และทำให้การเขียนนวนิยายกลายเป็นกิจกรรมที่มีหน้ามีตาสำหรับบุคคลที่มีการศึกษา[2]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การแก้ไขปรับปรุงนวนิยายสามก๊ก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การแก้ไขปรับปรุงผีพาจี้
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ("ต่อมามีนักปราชญ์จีนอีก ๒ คน คนหนึ่งชื่อเม่าจงกังคิดจะพิมพ์หนังสือสามก๊ก จึงแต่งคำอธิบายแลพังโพยเพิ่มเข้า แล้วให้นักปราชญ์จีนอีกคน ๑ ชื่อกิมเสี่ยถ่างอ่านตรวจ กิมเสี่ยถ่างเลื่อมใสในหนังสือสามก๊ก ช่วยแก้ไขคำพังโพยของเม่าจงกัง แล้วแต่งคำอธิบายของกิมเสี่ยถ่างเปนทำนองคำนำ มอบให้เม่าจงกังไปแกะตัวพิมพ์ตีพิมพ์หนังสือเรื่องสามก๊กขึ้น") "ตำนานหนังสือสามก๊ก: ๑ ว่าด้วยหนังสือสามก๊ก". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ January 6, 2025.
- ↑ Wang (1999).
บรรณานุกรมและอ่านเพิ่มเติม
[แก้]- Besio, Kimberly Ann & Constantine Tung (2007). Three Kingdoms and Chinese Culture. Albany: State University of New York Press. ISBN 978-0791470114.
- Roberts, Moss (1991), "Afterword", ใน Luo Guanzhong, attributed to (บ.ก.), Three Kingdoms, Berkeley: University of California Press
- Luo, Guanzhong and translated from the Chinese with afterword and notes by Moss Roberts (1991). Three Kingdoms: A Historical Novel. Berkeley; Beijing: University of California Press; Foreign Languages Press. ISBN 0520068211.
- Rolston, David L. (1990). How to read the Chinese novel. Princeton, N.J.: Princeton University Press. ISBN 0691067538.
- Wang, Rumei 王汝梅 (1999). Jin Shengtan, Mao Zonggang, Zhang Zhupo 金圣叹·毛宗岗·张竹坡. Shenyang: Chunfeng wenyi chubanshe. ISBN 7531320290.
- West, Andrew. The Textual History of Sanguo Yanyi The Mao Zonggang Recension, based on the author's "Quest for the Urtext: The Textual Archaeology of The Three Kingdoms" (PhD Dissertation, Princeton University, 1993), and his 三國演義版本考 Sanguo Yanyi Banben Kao [Study of the Editions of The Romance of the Three Kingdoms] (Shanghai: Shanghai Guji Chubanshe).