ข้ามไปเนื้อหา

เมอร์เซเดส-เบนซ์ในฟอร์มูลาวัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เยอรมนี เมอร์เซเดส
ชื่อเต็มเมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เปโตรนาส เอฟวันทีม
Mercedes-AMG Petronas F1 Team
ที่ตั้งแบรกลีย์ นอร์แทมป์ตันเชอร์ สหราชอาณาจักร[1]
(โครงรถ)
Brixworth นอร์แทมป์ตันเชอร์ สหราชอาณาจักร
(เครื่องยนต์; Power unit)
หัวหน้าทีมToto Wolff
(Team Principal & CEO)
Hywel Thomas
(MD, Powertrains)
ผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิค (Chief Technical Officer)James Allison
ผู้อำนวยการด้านเทคนิคMike Elliott
เว็บไซต์www.mercedesamgf1.com
ชื่อก่อนหน้าบราวน์จีพี
ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2022
นักแข่ง44. สหราชอาณาจักร Lewis Hamilton[2]
63. สหราชอาณาจักร George Russell[2]
นักแข่งทดสอบเบลเยียม Stoffel Vandoorne[3]
เนเธอร์แลนด์ Nyck de Vries[3]
โครงรถF1 W13
เครื่องยนต์Mercedes F1 M13 E Performance[2]
ยางรถPirelli
สถิติการแข่งขันรถสูตรหนึ่งชิงแชมป์โลก
แข่งครั้งแรกเฟรนช์กรังด์ปรีซ์ 1954
อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ 2024
แข่งแม่แบบ:F1cstat
เครื่องยนต์Mercedes
แชมป์ผู้ผลิต8 (2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020, 2021)
แชมป์ผู้ขับ9 (1954, 1955, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020)
ชนะแม่แบบ:F1cstat
โพเดียมส์แม่แบบ:F1cstat
คะแนนแม่แบบ:F1cstat (139.14)[a]
ตำแหน่งโพลแม่แบบ:F1cstat
รอบที่เร็วที่สุดแม่แบบ:F1cstat
อันดับในปี 20211 (613.5 คะแนน)

เมอร์เซเดส-เบนซ์มีบริษัทในเครือคือ เมอร์เซเดส-เบนซ์กรังด์ปรีซ์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในการแข่งขันฟอร์มูลาวัน ชื่อทีมว่า เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เปโตรนาสมอเตอร์สปอร์ต (อังกฤษ: Mercedes-AMG Petronas Motorsport) มีที่ตั้งอยู่ที่แบรกลีย์ นอร์แทมป์ตันเชอร์ สหราชอาณาจักร แต่ถือใบอนุญาตสัญชาติเยอรมัน[4] เมอร์เซเดส-เบนซ์เข้าร่วมการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรปสมัยก่อนสงคราม ซึ่งชนะสามรายการและเปิดตัวครั้งแรกในการแข่งขันสูตรหนึ่งปี 1954

สถิติการแข่งขัน

[แก้]
ฤดูกาล โครงรถ แข่ง ชนะ จุดเริ่มต้น
Pole Position
1–2 finishes โพเดียม รอบที่เร็วที่สุด Average winning margin Points Percentage of available points WDC WCC
2014 Mercedes F1 W05 Hybrid 19 16 18 11 31 12 23.2 seconds 701 82% 1st, 2nd 1st
2015 Mercedes F1 W06 Hybrid 19 16 18 12 32 13 19.7 seconds 703 86% 1st, 2nd 1st
2016 Mercedes F1 W07 Hybrid 21 19 20 8 33 9 14.6 seconds 765 85% 1st, 2nd 1st
2017 Mercedes AMG F1 W08 EQ Power+ 20 12 15 4 26 9 13.1 seconds 668 78% 1st, 3rd 1st
2018 Mercedes AMG F1 W09 EQ Power+ 21 11 13 4 25 10 6.8 seconds 655 73% 1st, 5th 1st
2019 Mercedes AMG F1 W10 EQ Power+ 21 15 10 9 32 9 11.8 seconds 739 80% 1st, 2nd 1st
2020 Mercedes-AMG F1 W11 EQ Performance 17 13 15 5 25 9 15.6 seconds 573 77% 1st, 2nd 1st
2021 Mercedes-AMG F1 W12 E Performance 22 9 9 0 28 10 19.5 seconds 613.5 64% 2nd, 3rd 1st

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Brackley". Mercedes-AMG Petronas Motorsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2017. สืบค้นเมื่อ 6 January 2017.
  2. 2.0 2.1 2.2 "2022 FIA Formula One World Championship – Entry List". Fédération Internationale de l'Automobile. 9 February 2022. สืบค้นเมื่อ 9 February 2022.
  3. 3.0 3.1 "Vandoorne, de Vries stay on as Mercedes reserves". Motorsport Week. 18 February 2022. สืบค้นเมื่อ 18 February 2022.
  4. "2010 Formula One World Championship Entry list". {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน