ข้ามไปเนื้อหา

ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2020 (อังกฤษ: 2020 FIA Formula One World Championship) เป็นการแข่งขันรถฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 71 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกที่รับรองโดยสหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (เอฟไอเอ) เริ่มแข่งในเดือนมีนาคม 2020 สิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน โดยจะมีทั้งหมด 22 การแข่งขัน

ผู้เข้าแข่งขัน

[แก้]

ทีมและนักขับต่อไปนี้อยู่ภายใต้สัญญาที่จะเข้าร่วมการแข่งขันชิงแชมป์โลกปี 2020 โดยทุกทีมจะใช้ยางของปีเรลลี[1]

ทีมและนักขับที่เข้าร่วมแข่งขันชิงแชมป์โลก 2020
ทีม ผู้ผลิต โครงรถ เครื่องยนต์ นักขับ
หมายเลข ชื่อ รอบ
สวิตเซอร์แลนด์ อัลฟาโรเมโอเรซซิงออร์เลน[2] อัลฟาโรเมโอเรซซิง-แฟร์รารี ซี39[2] แฟร์รารี 065 7
99
ฟินแลนด์ คิมิ ไรโคเนน
อิตาลี อันโตนีโอ โจวีนัซซี
ทั้งหมด
ทั้งหมด
อิตาลี สกูเดเรียอัลฟาทอรีฮอนด้า อัลฟาทอรี-ฮอนด้า เอที01[3] ฮอนด้า อาร์เอ620เอช[4] 10
26
ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี
รัสเซีย ดานีอิล เควียต
ทั้งหมด
ทั้งหมด
อิตาลี สกูเดเรียแฟร์รารี แฟร์รารี เอสเอฟ1000[5] แฟร์รารี 065[6] 5
16
เยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล
โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์
ทั้งหมด
ทั้งหมด
สหรัฐอเมริกา ฮาสเอฟวันทีม ฮาส-แฟร์รารี วีเอฟ-20[7] แฟร์รารี 065 8
51
20
ฝรั่งเศส รอแม็ง โกรฌ็อง
บราซิล Pietro Fittipaldi
เดนมาร์ก เควิน เมานุสเซิน
1–15
16–17
ทั้งหมด
สหราชอาณาจักร แม็กลาเรนเอฟวันทีม แม็กลาเรน-เรอโนลต์ เอ็มซีแอล35[8] เรอโนลต์อี-เทค 20[9] 4
55
สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส
สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์
ทั้งหมด
ทั้งหมด
เยอรมนี เมอร์เซเดส-เอเอ็มจีเปโตรนาสฟอร์มูลาวันทีม เมอร์เซเดส เอฟวัน ดับบลิว11[10] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม11[11] 44
63
77
สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน
สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์
ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส
1–15, 17
16
ทั้งหมด
สหราชอาณาจักร บีดับบลิวทีเรซซิงพอยต์เอฟวันทีม[12] เรซซิงพอยต์-บีดับบลิวทีเมอร์เซเดส อาร์พี20[13] บีดับบลิวทีเมอร์เซเดส 11
27
18
27
เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ
เยอรมนี นีโค ฮึลเคินแบร์ค
แคนาดา แลนซ์ สโตรลล์
เยอรมนี นีโค ฮึลเคินแบร์ค
1–4, 6–17
4–5
ทั้งหมด
11
ออสเตรีย แอสตันมาร์ตินเร็ดบุลเรซซิง เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า อาร์บี16[14] ฮอนด้า อาร์เอ620เอช 23
33
ไทย อเล็กซานเดอร์ อัลบอน
เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน
ทั้งหมด
ทั้งหมด
ฝรั่งเศส เรอโนลต์ดีพีเวิลด์เอฟวันทีม[15] เรอโนลต์ อาร์เอส20[16] เรอโนลต์อี-เทค 20[17] 3
31
ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด
ฝรั่งเศส เอสเตบัน โอกอน
ทั้งหมด
ทั้งหมด
สหราชอาณาจักร วิลเลียมส์เรซซิง[18] วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส เอฟดับบลิว43[19] เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม11[20] 6
63
89
แคนาดา นิโคลัส ลาตีฟี
สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์
สหราชอาณาจักร Jack Aitken
ทั้งหมด
1–15, 17
16
Sources:[16][21]

ปฏิทินเบื้องต้น

[แก้]

เดิมที การแข่งขันชิงแชมป์โลก 2020 มีทั้งหมด 22 รายการ[22] แต่เนื่องจากผลกระทบของการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา ส่งผลให้มีการยกเลิกและเลื่อนการแข่งขันจำนวนมาก ปฏิทินที่จัดกำหนดการใหม่ประกอบด้วย 17 รายการ ในขณะที่การแข่งขันสิบ 13 รายการถูกยกเลิกการแข่งขัน ในการแข่งขันแต่ละครั้ง จะใช้จำนวนรอบต่ำสุดเกินกว่า 305 km (189.5 mi) ยกเว้นการแข่งขันโมนาโกกรังด์ปรีซ์ ซึ่งจะวิ่งจำนวนรอบต่ำสุดเกินกว่า 260 km (161.6 mi) ปฏิทินต่อไปนี้เป็นฉบับร่างและได้รับการอนุมัติจากเอฟไอเอ

ปฏิทินการแข่งขัน
รอบที่ รายการ สนาม วันแข่ง
1 ออสเตรียนกรังด์ปรีซ์ ออสเตรีย เร็ดบุลริง Spielberg 5 กรกฎาคม
2 สตีเรียนกรังด์ปรีซ์ 12 กรกฎาคม
3 ฮังกาเรียนกรังด์ปรีซ์ ฮังการี ฮังกาโรริง Mogyoród 19 กรกฎาคม
4 บริติชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ซิลเวอร์สโตนเซอร์กิต ซิลเวอร์สโตน 2 สิงหาคม
5 เซเวนตีแอนนิเวอร์ซารีย์กรังด์ปรีซ์ 9 สิงหาคม
6 สเปนิชกรังด์ปรีซ์ สเปน เซอร์เกิตเดบาร์เซโลนา-กาตาลุนญา Montmeló 16 สิงหาคม
7 เบลเยียนกรังด์ปรีซ์ เบลเยียม เซอร์กิตเดอสปา-ฟรองโกชองส์ Stavelot 30 สิงหาคม
8 อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ อิตาลี อูโตโดรโมนาซีโอนาเลมอนซา มอนซา 6 กันยายน
9 ตอสกันกรังด์ปรีซ์ อิตาลี Autodromo Internazionale del Mugello Scarperia e San Piero 13 กันยายน
10 รัสเซียนกรังด์ปรีซ์ รัสเซีย โซชีออโตดรอม โซชี 27 กันยายน
11 ไอเฟลกรังด์ปรีซ์ เยอรมนี เนือร์บวร์คริง เนือร์บวร์ค 11 ตุลาคม
12 โปรตุกีสกรังด์ปรีซ์ โปรตุเกส Autódromo Internacional do Algarve Portimão 25 ตุลาคม
13 เอมีเลีย-โรมัญญากรังด์ปรีซ์ อิตาลี Autodromo Internazionale Enzo e Dino Ferrari Imola 1 พฤศจิกายน
14 เตอร์กีชกรังด์ปรีซ์ ตุรกี Intercity Istanbul Park Tuzla 15 พฤศจิกายน
15 บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ บาห์เรน Bahrain International Circuit Sakhir 29 พฤศจิกายน
16 ซากีร์กรังด์ปรีซ์ 6 ธันวาคม
17 อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Yas Marina Circuit อาบูดาบี 13 ธันวาคม
ที่มา:[23][24][25][26]

ผลและตารางคะแนน

[แก้]

กรังด์ปรีซ์

[แก้]
รอบที่ กรังด์ปรีซ์ ตำแหน่งโพล ทำรอบเร็วที่สุด ผู้ชนะ ทีมผู้ชนะ
1 ออสเตรีย ออสเตรียนกรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส เยอรมนี เมอร์เซเดส
2 ออสเตรีย สตีเรียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
3 ฮังการี ฮังกาเรียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
4 สหราชอาณาจักร บริติชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
5 สหราชอาณาจักร เซเวนตีแอนนิเวอร์ซารีย์กรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า
6 สเปน สเปนิชกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
7 เบลเยียม เบลเยียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
8 อิตาลี อิตาเลียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี อิตาลี อัลฟาทอรี-ฮอนด้า
9 อิตาลี ตอสกันกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
10 รัสเซีย รัสเซียนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส เยอรมนี เมอร์เซเดส
11 เยอรมนี ไอเฟลกรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
12 โปรตุเกส โปรตุกีสกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
13 อิตาลี เอมีเลีย-โรมัญญากรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
14 ตุรกี เตอร์กีชกรังด์ปรีซ์ แคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
15 บาห์เรน บาห์เรนกรังด์ปรีซ์ สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน เยอรมนี เมอร์เซเดส
16 บาห์เรน ซากีร์กรังด์ปรีซ์ ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ สหราชอาณาจักร เรซซิงพอยต์-บีดับบลิวทีเมอร์เซเดส
17 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาบูดาบีกรังด์ปรีซ์ เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า

ระบบคะแนน

[แก้]

คะแนนจะมอบให้กับนักขับ 10 อันดับแรกและนักขับที่ทำรอบเร็วที่สุด ซึ่งนักขับที่ทำรอบที่เร็วที่สุดจะต้องอยู่ใน 10 อันดับแรกเพื่อรับคะแนน ในกรณีที่คะแนนเสมอกันระบบนับถอยหลังจะถูกใช้โดยที่นักขับที่มีผลการแข่งขันดีที่สุดจะได้รับการจัดอันดับสูงกว่า หากผลลัพธ์ที่ดีที่สุดเหมือนกันจะตัดสินโดยผลลัพธ์ถัดไปที่ดีที่สุด คะแนนจะมอบให้สำหรับทุกการแข่งขันโดยใช้ระบบต่อไปนี้:[27]

อันดับ  1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   FL 
คะแนน 25 18 15 12 10 8 6 4 2 1 1

ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ

[แก้]
อันดับ นักขับ AUT
ออสเตรีย
STY
ออสเตรีย
HUN
ฮังการี
GBR
สหราชอาณาจักร
70A
สหราชอาณาจักร
ESP
สเปน
BEL
เบลเยียม
ITA
อิตาลี
TUS
อิตาลี
RUS
รัสเซีย
EIF
เยอรมนี
POR
โปรตุเกส
EMI
อิตาลี
TUR
ตุรกี
BHR
บาห์เรน
SKH
บาห์เรน
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
1 สหราชอาณาจักร ลูวิส แฮมิลตัน 4 1P 1PF 1P 2F 1P 1P 7PF 1PF 3P 1 1PF 1F 1 1P 3 347
2 ฟินแลนด์ วัลต์เตรี โบตตัส 1P 2 3 11 3P 3F 2 5 2 1F RetP 2 2P 14 8 8P 2 223
3 เนเธอร์แลนด์ มักซ์ แฟร์สตัปเปิน Ret 3 2 2F 1 2 3 Ret Ret 2 2F 3 Ret 6 2F Ret 1P 214
4 เม็กซิโก เซร์ฆิโอ เปเรซ 6 6 7 WD 5 10 10 5 4 4 7 6 2 18† 1 Ret 125
5 ออสเตรเลีย แดเนียล ริคาร์โด Ret 8 8 4 14 11 4F 6 4 5 3 9 3 10 7 5 7F 119
6 สเปน การ์โลส ไซนซ์ ยูนิออร์ 5 9F 9 13 13 6 DNS 2 Ret Ret 5 6 7 5 5 4 6 105
7 ไทย อเล็กซานเดอร์ อัลบอน 13† 4 5 8 5 8 6 15 3 10 Ret 12 15 7 3 6 4 105
8 โมนาโก ชาร์ล เลอแกลร์ 2 Ret 11 3 4 Ret 14 Ret 8 6 7 4 5 4 10 Ret 13 98
9 สหราชอาณาจักร แลนโด นอร์ริส 3F 5 13 5 9 10 7 4 6 15 Ret 13 8 8F 4 10 5 97
10 ฝรั่งเศส ปีแยร์ แกสลี 7 15 Ret 7 11 9 8 1 Ret 9 6 5 Ret 13 6 11 8 75
11 แคนาดา แลนซ์ สโตรลล์ Ret 7 4 9 6 4 9 3 Ret Ret WD Ret 13 9P Ret 3 10 75
12 ฝรั่งเศส เอสเตบัน โอกอน 8 Ret 14 6 8 13 5 8 Ret 7 Ret 8 Ret 11 9 2 9 62
13 เยอรมนี เซบัสทีอัน เฟ็ทเทิล 10 Ret 6 10 12 7 13 Ret 10 13 11 10 12 3 13 12 14 33
14 รัสเซีย ดานีอิล เควียต 12† 10 12 Ret 10 12 11 9 7 8 15 19 4 12 11 7 11 32
15 เยอรมนี นีโค ฮึลเคินแบร์ค DNS 7 8 10
16 ฟินแลนด์ คิมิ ไรโคเนน Ret 11 15 17 15 14 12 13 9 14 12 11 9 15 15 14 12 4
17 อิตาลี อันโตนีโอ โจวีนัซซี 9 14 17 14 17 16 Ret 16 Ret 11 10 15 10 Ret 16 13 16 4
18 สหราชอาณาจักร จอร์จ รัสเซลล์ Ret 16 18 12 18 17 Ret 14 11 18 Ret 14 Ret 16 12 9F 15 3
19 ฝรั่งเศส รอแม็ง โกรฌ็อง Ret 13 16 16 16 19 15 12 12 17 9 17 14 Ret Ret 2
20 เดนมาร์ก เควิน เมานุสเซิน Ret 12 10 Ret Ret 15 17 Ret Ret 12 13 16 Ret 17† 17 15 18 1
21 แคนาดา นิโคลัส ลาตีฟี 11 17 19 15 19 18 16 11 Ret 16 14 18 11 Ret 14 Ret 17 0
22 สหราชอาณาจักร Jack Aitken 16 0
23 บราซิล Pietro Fittipaldi 17 19 0
อันดับ นักขับ AUT
ออสเตรีย
STY
ออสเตรีย
HUN
ฮังการี
GBR
สหราชอาณาจักร
70A
สหราชอาณาจักร
ESP
สเปน
BEL
เบลเยียม
ITA
อิตาลี
TUS
อิตาลี
RUS
รัสเซีย
EIF
เยอรมนี
POR
โปรตุเกส
EMI
อิตาลี
TUR
ตุรกี
BHR
บาห์เรน
SKH
บาห์เรน
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
ที่มา:[28]
คำสำคัญ
สี ผล
ทอง ชนะเลิศ
เงิน อันดับ 2
ทองแดง อันดับ 3
เขียว อันดับอื่นที่ได้คะแนน
ฟ้า อันดับอื่นที่ไม่ได้คะแนน
ไม่ถูกจัดอันดับ แต่จบการแข่งขัน (NC)
ม่วง ไม่ถูกจัดอันดับ เพราะถอนตัวระหว่างแข่งขัน (Ret)
แดง ไม่ผ่านเข้ารอบคัดเลือก (DNQ)
ไม่ได้เข้าร่วมรอบก่อนคัดเลือก (DNPQ)
ดำ ถูกตัดสิทธิ์ (DSQ)
ขาว ไม่ได้ออกตัว (DNS)
การแข่งขันถูกยกเลิก (C)
ว่าง ไม่ได้เข้าร่วมรอบฝึกซ้อม (DNP)
ได้รับการยกเว้น (EX)
ไม่ได้เข้าร่วมงาน (DNA)
ถอนตัว (WD)
ตัวย่อ หมายถึง
ตัวยก อันดับที่ได้คะแนนในการแข่งขันรอบสปรินต์
P ตำแหน่งโพล
F ทำรอบเร็วที่สุด

หมายเหตุ:

  • † – นักขับที่ไม่จบการแข่งขัน แต่ถูกจัดอันดับเพราะแข่งขันมากกว่า 90% ของระยะทางการแข่งขัน

ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทผู้ผลิต

[แก้]
อันดับ ผู้ผลิต AUT
ออสเตรีย
STY
ออสเตรีย
HUN
ฮังการี
GBR
สหราชอาณาจักร
70A
สหราชอาณาจักร
ESP
สเปน
BEL
เบลเยียม
ITA
อิตาลี
TUS
อิตาลี
RUS
รัสเซีย
EIF
เยอรมนี
POR
โปรตุเกส
EMI
อิตาลี
TUR
ตุรกี
BHR
บาห์เรน
SKH
บาห์เรน
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
1 เยอรมนี เมอร์เซเดส 1P 1P 1PF 1P 2F 1P 1P 5 1PF 1F 1 1PF 1F 1 1P 8P 2 573
4 2 3 11 3P 3F 2 7PF 2 3P RetP 2 2P 14 8 9F 3
2 ออสเตรีย เร็ดบุลเรซซิง-ฮอนด้า 13† 3 2 2F 1 2 3 15 3 2 2F 3 15 6 2F 6 1P 319
Ret 4 5 8 5 8 6 Ret Ret 10 Ret 12 Ret 7 3 Ret 4
3 สหราชอาณาจักร แม็กลาเรน-เรอโนลต์ 3F 5 9 5 9 6 7 2 6 15 5 6 7 5 4 4 5 202
5 9F 13 13 13 10 DNS 4 Ret Ret Ret 13 8 8F 5 10 6
4 สหราชอาณาจักร เรซซิงพอยต์-บีดับบลิวทีเมอร์เซเดส 6 6 4 9 6 4 9 3 5 4 4 7 6 2 18† 1 10 195
Ret 7 7 DNS 7 5 10 10 Ret Ret 8 Ret 13 9P Ret 3 Ret
5 ฝรั่งเศส เรอโนลต์ 8 8 8 4 8 11 4F 6 4 5 3 8 3 10 7 2 7F 181
Ret Ret 14 6 14 13 5 8 Ret 7 Ret 9 Ret 11 9 5 9
6 อิตาลี แฟร์รารี 2 Ret 6 3 4 7 13 Ret 8 6 7 4 5 3 10 12 13 131
10 Ret 11 10 12 Ret 14 Ret 10 13 11 10 12 4 13 Ret 14
7 อิตาลี อัลฟาทอรี-ฮอนด้า 7 10 12 7 10 9 8 1 7 8 6 5 4 12 6 7 8 107
12† 15 Ret Ret 11 12 11 9 Ret 9 15 19 Ret 13 11 11 11
8 สวิตเซอร์แลนด์ อัลฟาโรเมโอเรซซิง-แฟร์รารี 9 11 15 14 15 14 12 13 9 11 10 11 9 15 15 13 12 8
Ret 14 17 17 17 16 Ret 16 Ret 14 12 15 10 Ret 16 14 16
9 สหรัฐอเมริกา ฮาส-แฟร์รารี Ret 12 10 16 16 15 15 12 12 12 9 16 14 17† 17 15 18 3
Ret 13 16 Ret Ret 19 17 Ret Ret 17 13 17 Ret Ret Ret 17 19
10 สหราชอาณาจักร วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส 11 16 18 12 18 17 16 11 11 16 14 14 11 16 12 16 15 0
Ret 17 19 15 19 18 Ret 14 Ret 18 Ret 18 Ret Ret 14 Ret 17
อันดับ ผู้ผลิต AUT
ออสเตรีย
STY
ออสเตรีย
HUN
ฮังการี
GBR
สหราชอาณาจักร
70A
สหราชอาณาจักร
ESP
สเปน
BEL
เบลเยียม
ITA
อิตาลี
TUS
อิตาลี
RUS
รัสเซีย
EIF
เยอรมนี
POR
โปรตุเกส
EMI
อิตาลี
TUR
ตุรกี
BHR
บาห์เรน
SKH
บาห์เรน
ABU
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คะแนน
ที่มา:[28]
คำสำคัญ
สี ผล
ทอง ชนะเลิศ
เงิน อันดับ 2
ทองแดง อันดับ 3
เขียว อันดับอื่นที่ได้คะแนน
ฟ้า อันดับอื่นที่ไม่ได้คะแนน
ไม่ถูกจัดอันดับ แต่จบการแข่งขัน (NC)
ม่วง ไม่ถูกจัดอันดับ เพราะถอนตัวระหว่างแข่งขัน (Ret)
แดง ไม่ผ่านเข้ารอบคัดเลือก (DNQ)
ไม่ได้เข้าร่วมรอบก่อนคัดเลือก (DNPQ)
ดำ ถูกตัดสิทธิ์ (DSQ)
ขาว ไม่ได้ออกตัว (DNS)
การแข่งขันถูกยกเลิก (C)
ว่าง ไม่ได้เข้าร่วมรอบฝึกซ้อม (DNP)
ได้รับการยกเว้น (EX)
ไม่ได้เข้าร่วมงาน (DNA)
ถอนตัว (WD)
ตัวย่อ หมายถึง
ตัวยก อันดับที่ได้คะแนนในการแข่งขันรอบสปรินต์
P ตำแหน่งโพล
F ทำรอบเร็วที่สุด


หมายเหตุ:

  • † – นักขับที่ไม่จบการแข่งขัน แต่ถูกจัดอันดับเพราะแข่งขันมากกว่า 90% ของระยะทางการแข่งขัน
  • ตารางคะแนนจัดเรียงตามผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ไม่เกี่ยวข้องกับนักขับ ในกรณีที่คะแนนเสมอกันอันดับที่ดีที่สุดของนักขับจะเป็นตัวกำหนดผลลัพธ์

อ้างอิง

[แก้]
  1. Coch, Mat (26 November 2018). "Pirelli to remain F1 tyre supplier until 2023". speedcafe.com. Speedcafe. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-21. สืบค้นเมื่อ 10 February 2019.
  2. 2.0 2.1 Khorounzhiy, Valentin (1 January 2020). "Alfa Romeo F1 team rebranded as Kubica joins in reserve role". motorsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2020. สืบค้นเมื่อ 1 January 2020.
  3. "Scuderia AlphaTauri reveals new Formula One car". Red Bull Content Pool (ภาษาอังกฤษ). Red Bull. 11 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2020. สืบค้นเมื่อ 11 February 2020.
  4. "Hear the 2020 Honda power unit fire up". GPToday.net (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
  5. "Gallery: Ferrari SF1000 launch: Ferrari unveil their 2020 F1 car". Formula1.com. 11 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 February 2020. สืบค้นเมื่อ 11 February 2020.
  6. "SF1000 Launched in Reggio Emilia". ferrari.com. 11 February 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2020. สืบค้นเมื่อ 13 February 2020.
  7. "Haas to reveal 2020 F1 car on first morning of testing". Formula1.com. 28 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 January 2020. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  8. van Osten, Phillip (18 October 2019). "McLaren set for 'decent step' with 2020 design – Seidl". F1i.com (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 November 2019. สืบค้นเมื่อ 18 November 2019.
  9. "McLaren MCL35 technical specification". mclaren.com. 12 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2020. สืบค้นเมื่อ 13 February 2020.
  10. "New Mercedes W11 Hits the Track For the First Time!". mercedesamgf1.com. 14 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 February 2020. สืบค้นเมื่อ 14 February 2020.
  11. "Mercedes-AMG F1 M11 EQ Performance". mercedesamgf1.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2020. สืบค้นเมื่อ 4 March 2020.
  12. "Racing Point debuts 2020 livery, names BWT as title sponsor". www.motorsport.com (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2020. สืบค้นเมื่อ 17 February 2020.
  13. "Formula 1 – Racing Point to launch on February 17th". FormulaSpy (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 22 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2020. สืบค้นเมื่อ 8 February 2020.
  14. "Red Bull ahead of schedule with 'great concept' for 2020". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2019. สืบค้นเมื่อ 19 December 2019.
  15. Coch, Mat (11 March 2020). "Renault unveils 2020 race livery in Albert Park". Speedcafe. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020.
  16. 16.0 16.1 "2020 FIA Formula One World Championship – Entry List". Fédération Internationale de l'Automobile. 19 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2020. สืบค้นเมื่อ 19 February 2020.
  17. "Formula 1 – Car". renaultsport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 March 2018. สืบค้นเมื่อ 13 February 2020.
  18. "Williams could sell F1 team as board announces GBP13m loss in 2019 and split from title sponsor". formula1.com. Formula One World Championship Limited. 29 May 2020. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.
  19. "ROKiT Williams Racing Announces New Partnership with Lavazza". www.williamsf1.com (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2020. สืบค้นเมื่อ 8 January 2020.
  20. Horton, Phillip (13 September 2019). "Williams extends Mercedes F1 power unit deal through 2025". motorsportweek.com. Motorsport Media Services Ltd. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2019. สืบค้นเมื่อ 13 September 2019.
  21. Official entry lists:
  22. "Diary dates: The 2020 F1 calendar, pre-season testing details and F1 car launch schedule". F1i.com. 12 December 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2020. สืบค้นเมื่อ 3 June 2020.
  23. "F1 confirms first 8 races of revised 2020 calendar, starting with Austria double header". F1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 June 2020. สืบค้นเมื่อ 2 June 2020.
  24. "Formula 1 adds Portimao, Nurburgring and 2-day event in Imola to 2020 race calendar". F1. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2020. สืบค้นเมื่อ 24 July 2020.
  25. "Formula 1 to return to Turkey's Istanbul Park as four more races are added to the 2020 F1 calendar". F1. สืบค้นเมื่อ 25 August 2020.
  26. "F1 to use Bahrain's 'outer track' for Sakhir Grand Prix, sub-60s laps expected". F1. สืบค้นเมื่อ 28 August 2020.
  27. "2019 Formula One Sporting Regulations". fia.com. 12 March 2019. pp. 3–4, 41. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 March 2019. สืบค้นเมื่อ 27 November 2019.
  28. 28.0 28.1 "2020 Classifications". Fédération Internationale de l'Automobile. สืบค้นเมื่อ 13 December 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]