เพลงชาติสาธารณรัฐโคลอมเบีย
คำแปล: เพลงชาติสาธารณรัฐโคลอมเบีย | |
---|---|
![]() | |
ชื่ออื่น | "โอ, กลอเรีย อินมาร์เซสิเบฺล" (¡Oh, gloria inmarcesible!) |
เนื้อร้อง | ราฟาเอล นูเญส, ค.ศ. 1887 |
ทำนอง | โอเรสเต ซินดิซี, ค.ศ. 1887 |
รับไปใช้ | 28 ตุลาคม ค.ศ. 1920 (โดยพฤตินัย) ค.ศ. 1995 (โดยนิตินัย) |
ตัวอย่างเสียง | |
เพลงชาติสาธารณรัฐโคลอมเบีย (บรรเลง) |
เพลงชาติสาธารณรัฐโคลอมเบีย (สเปน: Himno Nacional de la República de Colombia) หรือที่รู้จักกันจากวรรคแรกขอเพลงว่า "โอ, กลอเรีย อินมาร์เซสิเบฺล" (¡Oh, gloria inmarcesible!) ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1887 คำร้องโดย ราฟาเอล นูเญส ทำนองโดย โอเรสเต ซินดิซี (Oreste Sindici) เพลงดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติโคลอมเบียอย่างเป็นทางการตามกฎหมายเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1920
ประวัติ
[แก้]ภูมิหลัง
[แก้]ในปี ค.ศ. 1819 ได้ถูกตีความดนตรีประกอบการเต้นรำ ซึ่งสื่อถึง 'ชัยชนะ' และ "อิสรภาพ" เพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะของกองกำลังผู้รักชาติที่สมรภูมิโบยากา[1] หลังจากการล่มสลายตัวของสหภาพมหาโคลัมเบีย โดย สาธารณรัฐนิวกรานาดา สืบสิทธิ์ในฐานะรัฐเอกราช โดยหลายเพลงที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ซีมอง โบลีวาร์ "บิดาแห่งการปลดปล่อยลาตินอเมริกา" และ เป็นส่วนหนึ่งของเพลงชาติที่มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่ที่สุด เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1836 เมื่อนักดนตรีชาวสเปน ฟรานซิส วิลลาลบลา ได้เข้ามาในโคลัมเบีย พร้อมกับคณะละครกลุ่มดังกล่าว ต่อมาได้มีการเรียบเรียงทำนองเพลงปลุกใจสำหรับนิวกรานาดา โดยได้รับอิทธิพลจากเพลง "มาร์ชาเรอัล" เพลงสรรเสริญพระบารมีของสเปน.[2] ต่อมาทำนองเพลงดังกล่าวได้รับความนิยม และ ถือเป็นเพลงปลุกใจเพลงแรกของประเทศ[3] บทร้องดังกล่าวมีเนื้อร้องดังต่อไปนี้ :
ภาษาสเปน[4] | คำแปล |
---|---|
Gloria eterna a la Nueva Granada, |
เกียรติภูมิที่สูงส่งแห่งนิวกรานาดา, |
Composition
[แก้]บทกวี "เพลงปลุกใจของผู้รักชาติ" ประพันธ์โดย ราฟาเอล นูเญส ค.ศ. 1850:
Himno patriótico (ภาษาสเปน)[7]: 97 [8][9] |
เพลงปลุกใจของผู้รักชาติ (อิมโนแพตทรอติกา) |
---|---|
Del once de noviembre |
From 11 November |
เนื้อร้องบรรเลงบทนำ
[แก้]เหตการณ์กรณีพิพาทชายแดนโคลอมเบีย-เปรู (1932-1934), ทหารในสมรภูมิที่ทำการสู้รบ ช่วงระหว่างนั้นได้เพิ่มเนื้อร้องบรรเลงบทนำ หลังจากที่ได้ทดลองบรรเลงกับแตรฟันแฟร์. โฆเซ อันโตนิโอ อามายา นักประวัติศาสตร์ได้บันทึกว่า[10] ในช่วงทศวรรษที่ 1930 โรงเรียนในระดับประถมศึกษา ได้มีการนำเนื้อร้องบรรเลงบทนำไปใช้ในการสอนจนถึง ช่วงทศวรรษที่ 1960 ปัจจุบันไม่มีการขับร้องท่อนเนื้อร้องบรรเลงบทนำ ยกเว้นงานรัฐพิธี หรือ พิธีการทางทหาร ในบางโอกาสที่ยังมีการขับร้องท่อนเนื้อร้องบรรเลงบทนำ.[11] มีบทนำเนื้อร้องดังนี้:
ภาษาสเปน[12][13] | คำแปล |
---|---|
Hoy que la madre patria se halla herida, |
Now that the motherland finds herself wounded, |
ซึ่งเนื้อร้องในวรรคสุดท้ายมีความคล้ายคลึงกับเพลงชาติคิวบา, ในท่อนที่ว่า "¡Qué morir por la patría es vivir!"
การใช้
[แก้]โดยกฎหมาย, สถานีวิทยุและโทรทัศน์ทุกช่องของโคลอมเบีย ต้องบรรเลงเพลงชาติ 2 เวลา ช่วงเช้า 6 นาฬิกา (6:00 AM) และ ช่วงเย็น 18 นาฬิกา (6:00 PM) โดยบรรเลงดังนี้[16]: ดนตรีนำ - บทประสานเสียง, เนื้อร้องบทที่ 1* และ ดนตรีนำ-บทประสานเสียง ซึ่งการบรรเลงดังกล่าว ใช้กันในพิธีที่เป็นทางการของรัฐบาล และทางสาธารณะ
ทั้งนี้ เนื้อร้องในแต่ละบท จะร้องคั่นระหว่างบทประสานเสียง, ซึ่งเนื้อร้องทั้งหมดนั้นมี 11 บท ในบางโอกาส อาจนำเนื้อร้องของบทอื่น ๆ มาใช้ขับร้องแทนบทที่ 1 ก็ได้[17]
สำหรับการแข่งขันกีฬาในระดับนานาชาติ มีการบรรเลงเพลงชาติหลายรูปแบบทั้งฉบับสังเขป และ ฉบับปกติ จะบรรเลงดังนี้:
- ฉบับสังเขป ดนตรีนำ (เนื้อร้องบรรเลงบทนำ) - บทประสานเสียง
- ฉบับกึ่งทางการ ดนตรีนำ - บทประสานเสียง - เนื้อร้องบทที่ 1 (เนื้อร้องบทอื่นๆ ร้องเพียงบทเดียว) หรือ ในบางโอกาสอาจมีการบรรเลงเพลงชาติฉบับราชการด้วยก็ได้
ในงานพิธีการของทหารปืนใหญ่โคลอมเบีย ได้มีการใช้เนื้อร้อง บทที่ 11 ร้องแทนบทที่ 1[ต้องการอ้างอิง]
เนื้อร้อง
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภาษาสเปน | สัทอักษรสากล (IPA) | คำแปล |
---|---|---|
บทประสานเสียง
| ||
¡Oh gloria inmarcesible! |
[o ˈɡloɾja immaɾseˈsible] |
โอ้ ความรุ่งเรืองไม่เสื่อมคลาย! |
บทที่ 1
(บังคับใช้เป็นบทร้องฉบับราชการ) | ||
Cesó la horrible noche, |
[seˈso la oˈrible ˈnot͡ʃe] |
ในค่ำคืนอันน่ากลัวได้สิ้นสุดลงแล้ว, |
บทที่ 2
| ||
"¡Independencia!" grita |
เสียงเพรียกแห่ง "อิสรภาพ!" | |
บทที่ 3
| ||
Del Orinoco el cauce |
Del Orinoco el cauce | |
บทที่ 4
(บทร้องสำนวนทหารเรือ) | ||
A orillas del Caribe, |
||
บทที่ 5
| ||
De Boyacá en los campos, |
||
บทที่ 6
(บทร้องสำนวนทหารม้า) | ||
Bolívar cruza el Andes |
โบลิบาร์ข้ามเทือกเขาแอนดีส | |
บทที่ 7
| ||
La trompa victoriosa |
เสียงแตรศึกแห่งชัยชนะ | |
บทที่ 8
| ||
La virgen sus cabellos |
The virgin her hairs | |
บทที่ 9
| ||
La patria así se forma, |
Thus the motherland is formed, | |
บทที่ 10
| ||
Mas no es completa gloria |
But it's not complete glory | |
บทที่ 11
| ||
Del hombre los derechos |
บทร้องภาษาพื้นเมือง
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Símbolos patrios de Colombia". Biblioteca Luis-Ángel Arango. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-11-04. สืบค้นเมื่อ 2011-04-07.
- ↑ แม่แบบ:Cita libro
- ↑ "El Romanticismo musical colombiano" (PDF). Grupo de Investigación Audiovisual. Universidad Nacional de Colombia, sede Medellín. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-12-24. สืบค้นเมื่อ 2011-04-07.
- ↑ Pérez, Marcos González (2012). Ceremoniales: Fiestas y nación.: Bogotá: un escenario (ภาษาสเปน). Intercultura Colombia. p. 305. ISBN 978-958-99944-1-2.
- ↑ Ferrer, Alvaro Paredes (1996). La muerte de la nación (ภาษาสเปน). Castillo. p. 244. ISBN 978-958-9499-07-8.
- ↑ Arboleda, Gustavo (1918). Historia contemporanea de Colombia: (desde la disolución de la antiqua república de ese nombre hasta la época presente) (ภาษาสเปน). Arboleda & Valencia. p. 165.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:14
- ↑ Lemaitre, Eduardo (1977). Núñez y su leyenda negra (ภาษาสเปน). Ediciones Tercer Mundo. pp. 204–205.
- ↑ Boletín del Instituto Caro y Cuervo (ภาษาสเปน). Instituto Caro y Cuervo. 1947. p. 295.
- ↑ "Buscan meter al general Santander en el Himno". El Tiempo (ภาษาสเปน). 2009-03-01. สืบค้นเมื่อ 2022-01-13.
- ↑ http://www.archivosonoro.org/?id=75
- ↑ A, Ana María Jaramillo; Jaramillo, Ana María (1990). Las horas secretas (ภาษาสเปน). Cal y Arena. p. 30. ISBN 978-968-493-201-2.
- ↑ Goméz, Jorge Adiel (2016-04-23). HISTORIAS DE UN HOMBRE EN BUSCA DE DIOS (ภาษาสเปน). Editorial San Pablo. p. 247. ISBN 978-958-768-234-2.
- ↑ Pabon, Rosemberg Pabon; Pabón, Rosemberg Pabón; Chiqui, La (1984). Así nos tomamos la embajada (ภาษาสเปน). Planeta. p. 70. ISBN 978-958-614-059-1.
- ↑ "Himno Nacional de Colombia". Archivo Sonoro. 2011-10-06. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-06. สืบค้นเมื่อ 2022-01-13.
- ↑ เพลงชาติโคลอมเบีย บรรเลงฉบับปกติ พ.ศ. 2470
- ↑ เพลงชาติโคลอมเบีย ขับร้องฉบับราชการ(บทที่ 4)
- ↑ Some versions give "El pueblo es soberano" ("The people is sovereign")
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- แหล่งรวบรวมข้อมูลและไฟล์เสียง
- ไฟล์เพลงชาติ และ เพลงประจำกองทัพโคลอมเบีย เก็บถาวร 2013-05-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- วีดิทัศน์
แม่แบบ:สัญลักษณ์ของประเทศโคลอมเบีย
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน