เทมเพอเรเจอร์ไรซิง
บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
เทมเพอเจอร์ ไรซิง | ||||
---|---|---|---|---|
ภาพปกอัลบั้ม เทมเพอเจอร์ ไรซิง | ||||
สตูดิโออัลบั้มโดย | ||||
วางตลาด | 23 สิงหาคม พ.ศ. 2549 (ดูประวัติการจำหน่าย) | |||
บันทึกเสียง | 2 กรกฎาคม - 15 สิงหาคม พ.ศ. 2550 | |||
แนวเพลง | ป๊อบ, อาร์แอนด์บี | |||
ความยาว | 41:05 | |||
ค่ายเพลง | โซนีมิวสิก | |||
โปรดิวเซอร์ | David Gray และ Doug Banker | |||
ลำดับอัลบั้มของทาทา ยัง | ||||
| ||||
ภาพปกอื่น ๆ ของอัลบั้ม | ||||
วีซีดี คาราโอเกะ | ||||
ซิงเกิลจากเทมเพอเจอร์ ไรซิง | ||||
|
เทมเพอเจอร์ ไรซิง (อังกฤษ: Temperature Rising อ่านว่า 'temp(ə)rəCHər 'rīziNG) เป็นอัลบั้มเพลงสากลที่สอง ของนักร้องสาว ทาทา ยัง หลังจากความสำเร็จที่ได้รับจากอัลบั้มสากลล่าสุดคือ I Believe โดยมีการเปิดตัวด้วยเพลง El Nin-YO!
รูปแบบและเอกลักษณ์ของอัลบั้มนี้ มีความแตกต่างจากอัลบั้มที่แล้ว คือเป็นเพลงในแนว R&B มากขึ้น ดนตรีและเนื้อหา จะอิงไปทางนานาชาติมากขึ้น อัลบั้มนี้มีการนำเอาเพลงเก่ามาทำใหม่ถึง 7 เพลง
อัลบั้มถูกวางจำหน่ายในประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2549 โดยในประเทศญี่ปุ่น ถูกวางจำหน่ายก่อนหนึ่งวัน (23 สิงหาคม) เนื่องจากการตอบรับของแฟน ๆ และเป็นการขอบคุณการสนับสนุนจากอัลบั้ม I Believe
รายชื่อเพลง
[แก้]ลำดับ | ชื่อเพลง | ประพันธ์ | โปรดิวเซอร์ | ยาว |
---|---|---|---|---|
1. | "El Nin-YO!" | Hiten Bharadia, Philippe-Marc Anquetil, Christopher Lee-Joe | P-M Anquetil, C. Lee-Joe | 3:20 |
2. | "Back Outta This" | Adam Anders, Nikki Hassman, Rasmus Bille Bähncke, René Tromborg, Samantha Jade | A. Anders, N. Hassman | 3:29 |
3. | "I Want Some Of That" (ต้นฉบับโดย Sarah Connor / Key to My Soul, 2003) | Diane Warren | Alex Greggs, Danny O'Donoghue | 3:32 |
4. | "Come Rain Come Shine" (ต้นฉบับโดย Jenn Cuneta / Come Rain Come Shine: Single, 2005) | Paul McCartney, Linda McCartney, Frank Lamboy, Andrew Wedeen | F. Lamboy, A. Wedeen | 3:49 |
5. | "Uh Oh" (ต้นฉบับโดย Rosette Sharma / Uh Oh, 2005) | Anthony Anderson, Dane DeViller, Sean Hosein, R. Sharma, Steve Smith | A. Anderson, S. Smith, S. Hosein, D. DeViller | 3:29 |
6. | "Betcha Neva" (ต้นฉบับโดย Cherie / Cherie, 2004) | Alan Ross, David James, Natasha Bedingfield | A. Greggs, D. O'Donoghue | 3:09 |
7. | "Zoom" | A. Anders, N. Hassman, R. B. Bähncke, R. Tromborg | A. Anders, N. Hassman | 3:18 |
8. | "For You I Will" (ต้นฉบับโดย Monica / Space Jam, 1996) | D. Warren | P-M Anquetil, C. Lee-Joe | 3:58 |
9. | "I Must Not Chase The Boys" (ต้นฉบับโดย Play / Replay, 2003) | Pam Sheyene, Bill Padley, Jem Godfrey | A. Greggs, D. O'Donoghue | 2:56 |
10. | "I Guess I Never Knew My Baby" | Arnthor Birgisson, Anders Bagge, Wayne Hector, Sebastian Nylund | A. Greggs, D. O'Donoghue | 3:32 |
11. | "Superhypnotic" (ต้นฉบับโดย Shaggy feat. Nicole Scherzinger / Clothes Drop, 2005) | Alex Cantrall, Lindy Robbins, Kenneth Karlin, Carsten "Soulshock" Schack | A. Greggs, D. O'Donoghue | 3:04 |
12. | "Mila Mila" (ต้นฉบับโดย Anushka Manchanda / Super, 2005) | เนื้อเพลงภาษาอังกฤษ: Scott Moffatt, Clint Moffatt, Bob Moffatt เนื้อเพลงภาษาอินเดีย: Vipin Kakkar | Sandeep Chowta | 3:29 |
ความยาวทั้งหมด: | 41:05 |
Note: "Come Rain Come Shine" ใช้แซมเปิลเพลง "Silly Love Songs" โดย McCartney และ McCartney
ลำดับ | ชื่อเพลง | ยาว |
---|---|---|
1. | "Making of El Nin-YO!" | |
2. | "El Nin-YO! Music Video" | |
3. | "Interview with Tata Young" | |
4. | "Photo Gallery" |
ลำดับ | ชื่อเพลง | ยาว |
---|---|---|
1. | "El Nin-YO!" | |
2. | "Zoom" | |
3. | "Betcha Neva" | |
4. | "I Must Not Chase The Boys" | |
5. | "Uh Oh" | |
6. | "Back Outta This" | |
7. | "For You I Will" |
การโปรโมต
[แก้]การโปรโมตอัลบั้ม Temperature Rising เริ่มต้นจากการเปิดเพลง El Nin-YO! ตามสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โปสเตอร์ ช่องโทรทัศน์ (ในรูปแบบมิวสิกวิดีโอและโฆษณา)
เพลงที่ถูกนำมาโปรโมตต่อมาคือเพลง Zoom ซึ่งมีความหมายสะท้อนถึงความเป็นตัวตนของเธอ มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้คน สื่อต่าง ๆ มองเธอแต่ภายนอก หลังจากเพลงนี้ถูกโปรโมตได้ไม่นาน คอนเสิร์ต Tata Young Temperature Rising Live in Bangkok ที่จัดขึ้นในเดือนธันวาคม ก็ได้ถูกโปรโมตต่อมา โดยมีการผลิตวีซีดีคาราโอเกะ 7 เพลงจากอัลบั้ม Temperature Rising ออกขายในประเทศไทย
ล่าสุด จากคอนเสิร์ต Tata Young Temperature Rising Live in Bangkok (15 ธันวาคม 2549) ได้มีการเปิดมิวสิกวิดีโอตัวที่สาม กับเพลง Come Rain Come Shine จากนั้นไม่นาน มิวสิกวิดีโอตัวนี้ก็ได้ถูกเปิดตามสื่อต่าง ๆ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ https://www.discogs.com/Tata-Young-Temperature-Rising/release/9707173.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)