วิธีใช้:สารบบ
หน้าตา
ต่อไปนี้เป็นสารบบของหน้าบอกวิธีและสารสนเทศของวิกิพีเดีย ควบคู่ไปกับหน้าบริหารอื่นที่เกี่ยวข้องในเนมสเปซวิกิพีเดีย และวิธีใช้
ถ้าคุณเพิ่งเป็นมือใหม่ของวิกิพีเดีย ดู หน้าแนะนำผู้ใช้ที่กระตือรือร้นของเรา หากคุณต้องการความช่วยเหลือเชิงโต้ตอบ ดู ขอความช่วยเหลือ สำหรับสารบบและดัชนีอื่นที่เป็นประโยชน์ ดูสารบบ
คุณสามารถค้นดูหน้าวิธีใช้ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ "กล่องค้นหา" ด้านล่าง
เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
[แก้]- เกี่ยวกับวิกิพีเดีย – บทนำทั่วไปสำหรับผู้เยี่ยมชมวิกิพีเดีย
- การบริหาร อภิปรายโครงการบริหารของวิกิพีเีดย
- คำถามที่พบบ่อย – คำถามที่พบบ่อยที่สุดเกี่ยวกับวิกิพีเดีย
- คำแนะนำสำหรับผู้ปกครอง – ข้อมูลสำหรับผู้ปกครองและผู้ปกครองตามกฎหมาย
- ติดต่อวิกิพีเดีย – วิธีติดต่อกับวิกิพีเดียโดยตรง
- ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบทั่วไป – ไม่รับประกันความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล
- ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบด้านเนื้อหา – วิกิพีเดียไม่มีการเซ็นเซอร์
- ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบด้านกฎหมาย – วิกิพีเดียไม่ออกความเห็นทางกฎหมาย
- ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบด้านการแพทย์ – วิกิพีเดียไม่ให้คำแนะนำทางการแพทย์
- ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบด้านความเสี่ยง – ต้องยอมรับความเสี่ยงจากการใช้วิกิพีเดียเอง
- นโยบายและแนวปฏิบัติ – มาตรฐานชุมชนที่ชาววิกิพีเดียกำหนด
- ถ้อยแถลงหลักการ – โดยผู้ก่อตั้ง จิมมี เวลส์ และชาววิกิพีเดีย
- การค้นคว้า – วิกิพีเดียเป็นเครื่องมือที่ยอดเยี่ยมสำหรับการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม ...
- อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย – สิ่งที่อยู่นอกเหนือขอบเขตของวิกิพีเดีย
- ถามคำถามที่ไหน – หาสถานที่ถามคำถามที่ถูกต้อง
- ยื่นคำขอที่ไหน – หาสถานที่ยื่นคำขอที่ถูกต้อง
- ใครเขียนวิกิพีเดีย – คุณไง! ขอให้กล้า!
สารสนเทศผู้ร่วมเขียน
[แก้]- การมีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย – หน้าหลักที่ให้สารสนเทศ ลิงก์ วิดีโอและทรัพยากรอื่น ๆ เกี่ยวกับพื้นฐานที่จำเป็นต่อการทำความเข้าใจ ออกความเห็นและมีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย
- ชุดกฎแบบง่าย – บางแง่มุมพื้นฐาน บรรทัดฐานและการปฏิบัติในวิกิพีเดีย
- ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดีย – ลิงก์เบื้องต้นสำหรับเริ่มเขียนวิกิพีเดีย
- เริ่มต้น – หน้าที่ว่าด้วยเรื่องพื้นฐาน
- ข้อผิดพลาดทั่วไป – ข้อผิดพลาดทั่วไปที่ทุกคนพึงหลีกเลี่ยง
- กฎเข้าใจง่าย – อธิบายกฎงา่ย ๆ
- ศูนย์ช่วยเหลือ – หน้าที่มีลิงก์ไปสารบบที่มีประโยชน์
- สร้างบัญชีทำไม – ไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนเพื่อแก้ไข แต่มีคุณลักษณะเพิ่มเติม
- การเลือกชื่อผู้ใช้ – อย่าเลือกชื่อที่อาจเป็นการละเมิด ชวนให้เข้าใจผิด รังควานหรือโฆษณาส่งเสริม
- วิธีเข้าสู่ระบบ – หากคุณไม่ล็อกอิน ระบบจะบันทึกที่อยู่ไอพีของคุณ
- บทความแรกของคุณ – คำแนะนำในการเริ่มบทความสารานุกรมแรกของคุณ
- บทความที่มีอธิบายประกอบ – เป็นบทความตัวอย่างที่สร้างมาอย่างดีพร้อมคำอธิบายประกอบ
- วิซาร์ดบทความ – จะแนะนำคุณตลอดขั้นตอนการส่งบทความใหม่
- การสร้างและการใช้งานไฟล์สื่อ – ผู้ใช้ใหม่ไม่ได้รับอนุญาตให้อัปโหลดไฟล์
- วิซาร์ดอัปโหลด – จะแนะนำคุณตลอดขั้นตอนการส่งสื่อ
- การสร้างและการใช้งานไฟล์สื่อ – ผู้ใช้ใหม่ไม่ได้รับอนุญาตให้อัปโหลดไฟล์
- วิซาร์ดบทความ – จะแนะนำคุณตลอดขั้นตอนการส่งบทความใหม่
- บทความที่มีอธิบายประกอบ – เป็นบทความตัวอย่างที่สร้างมาอย่างดีพร้อมคำอธิบายประกอบ
- คำถามพบบ่อย – คำถามทั่วไปเกี่ยวกับการใช้และการมีส่วนร่วม
หน้าสอนวิธี
[แก้]- วิธีใช้:สารบัญ – อธิบายวิธีค้นหาและนำทางในหน้าวิธีใช้
- หนังสือ – อธิบายวิธีสร้างและดาวน์โหลดหนังสือ Wikipedia
- หมวดหมู่ – อธิบายวิธีแก้ไขหมวดหมู่
- ผลต่าง – อธิบายวิธีดูความแตกต่างระหว่างหน้าสองรุ่น
- การแก้ไข – อธิบายพื้นฐานการแก้ไข
- แถบเครื่องมือการแก้ไข – อธิบายพื้นฐานวิธีใช้แถบเครื่องมือ
- แก้ไขชนกัน – อธิบายวิธีจัดการเมื่อเกิดแก้ไขชนกัน
- ไฟล์ – อธิบายวิธีจัดการสื่อ
- เชิงอรรถ – อธิบายวิธีการเพิ่มเชิงอรรถและการอ้างอิง
- กล่องข้อมูล – อธิบายพื้นฐานเกี่ยวกับวิธีใช้กล่องข้อมูล
- รายการ – อธิบายวิธีการเพิ่มรายการ
- ลิงก์ – อธิบายวิธีการเพิ่มลิงก์ภายใน
- สีลิงก์ – อธิบายวิธีการเพิ่มสีให้กับข้อความลิงก์
- การเข้าสู่ระบบ – อธิบายวิธีการเข้าถึงบัญชีของคุณ
- เมจิกเวิร์ด – อธิบายการทำงานของคำที่ล้อมรอบด้วยเครื่องหมายวงเล็บหรือฟังก์ชันขีดเส้นใต้ (underscore)
- สื่อ – อธิบายพื้นฐานของการมองเห็นสื่อ
- การรวม – อธิบายวิธีการรวมบทความ
- การเข้าถึงมือถือ – อธิบายวิธีเข้าถึงวิกิพีเดียจากอุปกรณ์เคลื่อนที่
- การนำทาง – อธิบายวิธีการใช้งานวิกิพีเดีย
- ชื่อหน้า – อธิบายวิธีจัดการกับชื่อหน้า
- เปลี่ยนทาง – อธิบายวิธีนำหน้าไปยังที่ที่เหมาะสม
- ย้อน – อธิบายวิธีย้อนกลับการแก้ไข
- ค้นหา – อธิบายวิธีการค้นหาวิกิพีเดียให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- ส่วน – อธิบายวิธีแก้ไขเฉพาะบางส่วนของหน้า
- หน้าคุย – อธิบายพื้นฐานของสิ่งที่ต้องทำในหน้าพูดคุย
- ยูอาร์แอล – อธิบายวิธีการเพิ่มและจัดการกับลิงก์ภายนอก
- การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ – อธิบายวิธีดูส่วนเพิ่มเติมขอมผู้เขียน
- เฝ้าดู – อธิบายวิธีติดตามเพจ
ความช่วยเหลือทางเทคนิค
[แก้]- อักขระพิเศษ – มีคำแนะนำเกี่ยวกับอักขระที่ใช้ได้และวิธีป้อนอักขระเหล่านั้น
- การเข้าถึงอุปกรณ์เคลื่อนที่
- การพิมพ์
- แป้นพิมพ์ลัด
- การแก้ไข
- เครื่องมือแก้ไขแบบเห็นภาพ (VisualEditor)
- ระดับการเข้าถึงของผู้ใช้
- ไออาร์ซี
- สร้างเพจ
- ประวัติหน้า
- ชื่อหน้า
หน้าพิเศษ
[แก้]- วิธีใช้หน้าพิเศษ
- ค้นหา
- การเข้าสู่ระบบ
- การแจ้งเตือน
- การย้ายหน้า
- การเฝ้าดูหน้า
- การมีส่วนร่วมของผู้ใช้
- ปูม
- หน้าที่ลิงก์มา
- การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวโยง
- การเปลี่ยนแปลงล่าสุด
- ตัวกรองการแก้ไข
- ป้ายระบุ
ลิงก์และผลต่าง
[แก้]ไฟล์สื่อ: ภาพ วิดีโอและเสียง
[แก้]- การอัปโหลดภาพ
- ไฟล์
- มาร์กอัปไฟล์ภาพ
- ภาพ
- ป้ายกำกับแกลเลอรี
- มาร์กอัปไฟล์เสียง
กราฟิกอื่น
[แก้]- สูตรคณิตศาสตร์
- เส้นเวลา
- โครงสร้างเนมสเปซ
- หลัก/บทความ
- เนมสเปซคุย
- ผู้ใช้
- โครงการ/วิกิพีเดีย
- ไฟล์
- มีเดียวิกิ
- แม่แบบ
- วิธีใช้
- หมวดหมู่
- สถานีย่อย
- หนังสือ
- ฉบับร่าง
- TimedText
- มอดูล/ลูอา
- พิเศษ
- สื่อ
การปรับแต่งและเครื่องมือ
[แก้]การเข้ารหัส (มาร์กอัปวิกิ)
[แก้]- มาร์กอัปวิกิ – อธิบายการเข้ารหัสที่ใช้โดยข้อความ ลิงก์และหน้าคุย
- กระดาษจดโค้ด – การเข้ารหัสพื้นฐานที่ใช้ในวิกิพีเดีย
- เอชทีเอ็มแอล – อธิบายวิธีใช้เอชทีเอ็มแอลในข้อความ
- ไฟล์เสียง – อธิบายไฟล์เสียงการเข้ารหัสพื้นฐาน
- ตาราง – อธิบายการเข้ารหัสพื้นฐานสำหรับการสร้างตาราง
- แม่แบบ – อธิบายพื้นฐานสำหรับแม่แบบ
- ไฟล์ภาพ – อธิบายพื้นฐานของการเข้ารหัสสำหรับสื่อภาพ
- เครื่องมือวิกิ – เครื่องมือและสอนวิธีการต่าง ๆ ที่มีไว้เพื่อลดความซับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้น หรือเพิ่มฟังก์ชัน
แม่แบบและลูอา
[แก้]- แม่แบบ
- แม่แบบแสดงข้อความ
- แม่แบบอ้างอิง
- การรวมข้าม
- การแทนที่
- ขีดจำกัดแม่แบบ
- กระบะทรายและหน้าทดสอบแม่แบบ
- ล้างแคช
- โครงการลูอา
สอนวิธี
[แก้]- หน้าสอนใช้งานหลัก – จะช่วยให้ทุกคนเป็นผู้ร่วมเขียนวิกิพีเีดย
- ภาพ – พื้นฐานวิธีใช้รูปภาพ
- คู่มือผู้ใช้ VisualEditor – คำแนะนำที่ให้ภาพประกอบคำแนะนำทีละขั้นตอนเกี่ยวกับคุณลักษณะ VisualEditor
บทนำ
[แก้]มาร์กอัพวิกิ
[แก้]มอดูลฝึกอบรม
[แก้]- Wikipedia Adventure – วิกิพีเดียไม่ใช่เกม แต่การเรียนรู้ก็น่าสนุกนะ
ความช่วยเหลือแบบโต้ตอบ (ฟอรัมความช่วยเหลือ)
[แก้]คำถามเกี่ยวกับวิกิพีเดีย
[แก้]- แผนกช่วยเหลือ – "หน้าหลัก" สำหรับถามคำถามเกี่ยวกับวิธีใช้หรือแก้ไขวิกิพีเดีย
คำถามความรู้ทั่วไป
[แก้]- ปุจฉา-วิสัชนา – คุณสามารถถามคำถามเกี่ยวกับหัวข้อใดก็ได้ในหน้าที่ระบุไว้ด้านล่าง
- มนุษยศาสตร์ – ถามเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ การเมือง วรรณกรรม ศาสนา ปรัชญา กฎหมาย การเงิน เศรษฐศาสตร์ ศิลปะและสังคม
- ภาษา – ถามการสะกดคำ ไวยากรณ์ ศัพทมูล การใช้ภาษาและการแปล
- วิทยาศาสตร์ – ถามเกี่ยวกับชีววิทยาเคมีฟิสิกส์การแพทย์ธรณีวิทยาวิศวกรรมและเทคโนโลยี
- (จิปาถะ) – ถามเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่ได้ระบุไว้ข้างต้น
ความช่วยเหลือเฉพาะและการไกล่เกลี่ย
[แก้]- ผู้ดูแลระบบ – สำหรับโพสต์สารสนเทศและปัญหาที่ส่งผลต่อผู้ดูแลระบบ
- แจ้งความ – รายงานและอภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ต้องมีมาตรการของผู้ดูแลระบบและบรรณาธิการที่มีประสบการณ์
- การก่อกวน – รายงานการก่อกวนที่เห็นได้ชัด
- ขอความเห็น – ที่ขอรับความเห็นจากผู้ใช้อื่นภายนอก (ปัจจุบันเลิกใช้)
- การอนุญาโตตุลาการ – "ทางเลือกสุดท้าย" สำหรับปัญหาการดำเนินการเมื่อช่องทางอื่น ๆ หมดลงทำให้มีคำวินิจฉัยที่มีผลผูกพัน (ปัจจุบันเลิกใช้)
ปัญหาเทคนิค
[แก้]- สภากาแฟ – กระดานสำหรับอภิปรายปัญหาเทคนิค นโยบายและการปฏิบัติงานของวิกิพีเดีย
วิธีขอความช่วยเหลืออื่น
[แก้]- วาง
{{ช่วยหน่อย}}
(รวมทั้งวงเล็บปีกกา) "ตามด้วยคำถามของคุณ" ในหน้าคุยของคุณเอง จะมีอาสาสมัครเข้าไปตอบ - เมนเทอร์ – เป็นที่ที่คุณสามารถค้นหา "เมนเทอร์" และขอให้ฝึกฝนการเขียนแบบตัวต่อตัว (ปัจจุบันเลิกใช้)
- ติดต่อวิกิพีเดีย – เป็นหน้าที่อธิบายวิธีการและสถานที่ติดต่อวิกิพีเดียด้วยเหตุผลต่าง ๆ
มาตรฐานและคำแนะนำชุมชน
[แก้]- นโนบายและแนวปฏิบัติ – อธิบายว่านโยบายและแนวปฏิบัติควรพัฒนาและบำรุงรักษาอย่างไร
- กฎเข้าใจง่าย – แง่มุมพื้นฐานเกี่ยวกับบรรทัดฐานและการปฏิบัติของวิกิพีเดีย
- หน้าสอนวิธีและสารสนเทศ – เกี่ยวกับหน้าที่มีสารสเนทศเทคนิคและข้อเท็จจริง หรือเป็นการอธิบายประกอบนโยบายและแนวปฏิบัติประกอบ
- เรียงความ – เรียงความไม่ใช่นโยบายหรือแนวปฏิบัติ แต่ก็ควรรับไว้พิจารณา
- การลบ – นโยบายเกี่ยวกับการลบบทความและหน้าวิกิพีเดียอย่างอื่น
- ทำไมหน้าที่ฉันสร้างจึงถูกลบ? – เรียงความสาเหตุที่ถูกลบ และตัวเลือกอื่นที่คุณมี
- ชีวประวัติของบุคคลที่มีชีวิตอยู่ (BLP) – แนวปฏิบัติว่าชีวประวัติของบุคคลที่มีชีวิตอยู่ต้องเขียนด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ
- หมิ่นประมาท – นโยบายว่าการคอยสอดส่องมิให้เนื้อหาวิกิพีเดียหมิ่นประมาทผู้อื่นเป็นความรับผิดชอบของทุกคน
- การบล็อก – นโยบายที่ผู้ดูแลระบบสามารถสกัดกั้นผู้ใช้มิให้แก้ไขได้
- การอุทธรณ์การบล็อก – คุณสามารถใช้แม่แบบ {{ปลดบล็อก}} ทางหน้าคุยเพื่อขอปลดบล็อกได้
- การอ้างอิงแหล่งที่มา – แนวปฏิบัติที่มีสารสนเทศเกี่ยวกับการจัดวางและจัดรูปแบบการอ้างอิง
- ผลประโยชน์ทับซ้อน – อย่าใช้วิกิพีเดียเพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ของคุณเอง
- ความเห็นพ้อง – วิธีหลักในการตัดสินใจ และยอมรับว่าเป็นวิธีการดีที่สุดในการบรรลุเป้าหมายของเรา
- ลิขสิทธิ์ – นโยบายที่อนุญาตให้ลอก แจกจ่ายหรือดัดแปรข้อความภายใต้ CC BY-SA 3.0
- เขียนงานอย่างไรไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ – เรียงความระบุว่าควรสรุปเนื้อหาจากแหล่งอ้างอิง ไม่ใช่เขียนแบบถอดความ
- การบริจาคเนื้อหา – เรียงความสำหรับผู้ที่ประสงค์ให้อนุญาตใช้งานผลงานที่เป็นลิขสิทธิ์ของตน
- นโยบายการแก้ไข – ขอให้กล้าแก้ไข อย่าง ไม่มีอคติ และ พิสูจน์ยืนยันได้ ทั้งนี้ ไม่จำเป็นต้องสมบูรณ์แบบในคราวแรก แต่ขอให้ปรับปรุงดีขึ้นเรื่อย ๆ
- การพัฒนาบทความ – วิธีการช่วยพัฒนาบทความ
- สงครามแก้ไข – อย่าย้อนการแก้ไขตอบโต้กันไปมา มีกฎห้ามย้อนกันเกิน 3 ครั้งใน 24 ชั่วโมง
- มารยาท – หลักการทำงานร่วมกับผู้อื่นบนวิกิพีเดีย
- ประพฤติเยี่ยงอารยชน – ความคาดหมายความประพฤติพื้นฐานของวิกิพีเดีย
- สันนิษฐานว่าคนอื่นสุจริตใจ – หากไม่มีหลักฐานชัดเป็นอื่น ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าคนอื่นกำลังช่วยปรับปรุงวิกิพีเดีย
- อย่าว่าร้ายผู้อื่น – วิจารณ์เนื้อหา ไม่ใช่ตัวผู้เขียน
- อย่ากัดผู้ใช้ใหม่ – เพราะผู้ใช้ใหม่ยังไม่คุ้นเคยกับมาตรฐานชุมชน
- ไอพีก็เป็นคนเหมือนกัน – เรียงความว่าด้วยผู้ใช้ไม่ลงทะเบียนก็มีส่วนสำคัญในกระบวนการวิกิพีเดีย
- ปล่อยวางกฎทั้งหมด (IAR) – นโยบายที่ระบุว่าหากมีกฎยับยั้งไม่ให้คุณปรับปรุงหรือบำรุงรักษาวิกิพีเดีย ให้ปล่อยวางกฎเสีย
- นโยบายการใช้ภาพ – นโยบายที่มีต่อภาพ อย่างปัญหาเนื้อหาและลิขสิทธิ์ ที่ใช้กับวิกิพีเดียภาษาไทย
- คู่มือการเขียน (MOS) – หน้าแนวปฏิบัติหลักที่อธิบายถึงความเห็นพ้องร่วมกันของชุมชนเกี่ยวกับผังและการนำเสนอ
- สารบัญคู่มือการเขียน – สารบบของคู่มือการเขียนทุกหน้า
- เขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น – เรียงความเกี่ยวกับคำแนะนำในการทำให้บทความดีขึ้น
- สารบัญคู่มือการเขียน – สารบบของคู่มือการเขียนทุกหน้า
- ความเป็นกลาง (NPOV) – นโยบายว่าบทความควรนำเสนอมุมมองหลัก ๆ ของหัวข้อนั้น
- เขียนงานอย่างไรให้เป็นกลาง – เรียงความให้คุณตระหนักถึงอคติที่คุณอาจยังไม่ทราบ
- งดงานค้นคว้าต้นฉบับ (OR) – นโยบายว่าเนื้อหาวิกิพีเดียจะต้องมาจากแหล่งอ้างอิงตีพิมพ์ที่น่าเชื่อถือ
- ความโดดเด่น – แนวปฏิบัติที่วางเค้าโครงหัวข้อที่เหมาะสมสำหรับเขียนเป็นบทความหรือรายการ
- สิทธิผู้ใช้ – ความสามารถในการกระทำบางอย่างในวิกิพีเดีย ขึ้นอยู่กับระดับการเข้าถึงของผู้เขียน
- การพิสูจน์ยืนยันได้ (RS) – นโยบายที่ระบุว่าผู้อ่านต้องสามารถตรวจสอบที่มาได้ ไม่ใช่กุขึ้น
- การระบุแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ – แนวปฏิบัติที่ใช้บอกว่าแหล่งอ้างอิงใดน่าเชื่อถือบ้าง
- คำที่ต้องระวัง – แนวปฏิบัติว่าคำบางคำควรใช้อย่างระวัง
- การก่อกวน – หากคุณพบเห็นการก่อกวน ให้ลบหรือย้อนได้เลย
สารบบ
[แก้]- สารบบ – รายการหลักของสารบบและดัชนีเนมสเปซ "วิกิพีเดีย" และ "วิธีใช้"
- แผนก – รายชื่อแผนกต่าง ๆ ของวิกิพีเดีย
- อภิธานศัพท์ – รายการคำศัพท์ (คำแสลง) ที่บรรณาธิการใช้กันทั่วไป
- แนวปฏิบัติ – รายการแนวปฏิบัติอย่างเป็นทางการของวิกิพีเดียภาษาไทย
- คู่มือการเขียน – รายการหน้าทั้งหมดของคู่มือการเขียน
- นโยบาย – รายการนโยบายอย่างเป็นทางการของวิกิพีเดียภาษาไทย
สารบัญวิธีใช้ตามหัวข้อ
[แก้]- รายการเลือกวิธีใช้: สำหรับการค้นหาแบ่งตามประเด็นหัวเรื่อง
- การนำทางวิกิพีเดีย: สำหรับการค้นหาและค้นดูวิกิพีเดีย
- การเข้าร่วมวิกิพีเดีย: วิธีการเข้ามีส่วนร่วม
- การแก้ไขวิกิพีเดีย: สำหรับวิธีใช้ทั่วไปสำหรับผู้เขียน
- ลิงก์และอ้างอิง: มีวิธีใช้สำหรับสร้างลิงก์ หรือจัดการกับการอ้างอิง
- ไฟล์: วิธีใช้ไฟล์ภาพ วิดีทัศน์หรือเสียง
- การติดตามความเปลี่ยนแปลง: วิธีการค้นหาและติดตามวิวัฒนาการของหน้า หรือติดตามผู้ใช้
- นโยบายและแนวปฏิบัติ: สำหรับมาตรฐานชุมชน
- ถามคำถาม: อาสาสมัครจะพยายามตอบ
- ประชาคมวิกิพีเดีย: วิธียื่นหรืออภิปรายข้อเสนอ
- ทรัพยากรและรายการ: มีทรัพยากรสำหรับผู้เขียน
- การตั้งค่าบัญชี: มีเคล็ดลับและเครื่องมือสำหรับผู้ใช้ลงทะเบียน
- สารสนเทศเทคนิค: มีเครื่องมือสำหรับผู้ใช้ขั้นสูง และการแก้ปัญหา
- แผนที่ไซต์: สรุปรวมอยู่ในหน้าเดียว