ข้ามไปเนื้อหา

วันยุทธเวหาที่บริเตน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก วันยุทธการที่บริเตน)
วันยุทธเวหาที่บริเตน
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการที่บริเตน
วันที่15 กันยายน ค.ศ. 1940
สถานที่
ผล อังกฤษชนะ[1][2]
คู่สงคราม
 สหราชอาณาจักร  ไรช์เยอรมัน
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร Hugh Dowding
นิวซีแลนด์ Keith Park
นาซีเยอรมนี แฮร์มันน์ เกอริง
นาซีเยอรมนี อัลแบร์ท เคสเซิลริง
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
กองบัญชาการเครื่องขับไล่ Luftflotte 2
กำลัง
50,000 observers[3]
630 fighter aircraft[4]
1,120 aircraft (620 fighters and 500 bombers)[4]
ความสูญเสีย
29 aircraft destroyed[5]
~ 21 damaged[6]
14[7]–16 killed[5]
14 wounded[7]
1 captured[7]
57[8]–61[5] aircraft destroyed
20 severely damaged[9]
63–[10] 81 killed[7]
63[7]–65 captured[10]
30[10]–31 wounded[7]
21 missing[10]

วันยุทธเวหาที่บริเตน (อังกฤษ: Battle of Britain Day) เป็นชื่อที่ตั้งให้แก่วันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1940 ซึ่งเกิดยุทธการทางอากาศเป็นวงกว้างในช่วงยุทธการที่บริเตน

ในวันนั้น ลุฟท์วัฟเฟอได้เริ่มเข้าโจมตีกรุงลอนดอนทุกครั้ง ด้วยจำนวนเครื่องบินรบราวประมาณ 1,500 ลำได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรบทางอากาศซึ่งได้ยืดเยื้อจนกระทั่งถึงช่วงค่ำ การปฏิบัติครั้งนี้เป็นจุดสูงสุดของยุทธการที่บริเตน

ในช่วงภายหลังของการโจมตี ฮิตเลอร์ได้เลื่อนปฏิบัติการสิงโตทะเลออกไป หลังจากได้รับความพ่ายแพ้ในช่วงกลางวัน ลุฟท์วัฟเฟอได้หันเหความสนใจไปกับการโจมตีสายฟ้าแลบหรือเดอะบลิตซ์ การทัพช่วงกลางคืนซึ่งได้กินเวลาไปจนกระทั่งเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1941

วันยุทธเวหาที่บริเตนในปัจจุบันนั้นได้กลายเป็นวันรำลึกประจำปีของการสู้รบในสหราชอาณาจักร ในแคนาดา, การรำลึกจะเกิดขึ้นในวันอาทิตย์ของเดือนกันยายน

อ้างอิง

[แก้]
  1. Murray 1983, pp. 52–54
  2. Hough and Richards 2007, p. 283.
  3. Collier 1980, p. 196.
  4. 4.0 4.1 Bungay 2000, p. 319.
  5. 5.0 5.1 5.2 Terraine 1985, p. 211.
  6. Price 1990, p. 106.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 Bungay 2000, p. 333.
  8. Killen 2003, p. 147.
  9. Overy 2001, p. 86.
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 Price 1990, pp. 154–163.