ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี 2023
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1989
จำนวนทีม24
ทวีประหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน สหรัฐอเมริกา (2 สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุด จีน (4 สมัย)

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี (อังกฤษ: FIVB Volleyball Women's U19 World Championship) หรือชื่อเดิม วอลเลย์บอลยุวชนหญิงชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Girls' Youth World Championship) ตั้งแต่ ค.ศ. 2007 ถึง ค.ศ. 2011 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายอายุไม่เกิน 18 ปี ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี)

การแข่งขันครั้งแรกได้รับจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1989 ที่ประเทศบราซิล และการแข่งขันได้รับการจัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี โดยการแข่งขันครั้งล่าสุดจัดขึ้นที่เมืองออซิเยก ประเทศโครเอเชีย และแซแก็ด ประเทศฮังการี และทีมชนะเลิศคือทีมชาติสหรัฐ

เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2022 คณะกรรมการบริหารของเอฟไอวีบี ได้ตัดสินใจเปลี่ยนประเภทอายุของการแข่งขันโดยเปลี่ยนประเภทอายุต่ำกว่า 18 ปีก่อนหน้านี้เป็นรุ่นอายุต่ำกว่า 19 ปี เพื่อให้เทียบเท่ากับการแข่งขันชิงแชมป์โลกชาย รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี[1][2][3]

ทีมชาติจีนเป็นประเทศที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์การแข่งขัน โดยชนะเลิศ 4 สมัย และรองชนะเลิศ 1 สมัย ทีมชาติบราซิลเป็นประเทศที่สองที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด โดยชนะเลิศ 3 สมัย

การแข่งขันที่คล้ายกันสำหรับประเภททีมชายคือ วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
1989
รายละเอียด
บราซิล
กูรีตีบา / โฟซดูอีกวาซู

สหภาพโซเวียต
3–2
บราซิล

ญี่ปุ่น
3–0
เกาหลีใต้
12
1991
รายละเอียด
โปรตุเกส
ลิสบอน

เกาหลีใต้
3–0
บราซิล

สหภาพโซเวียต
3–1
ญี่ปุ่น
12
1993
รายละเอียด
เชโกสโลวาเกีย
บราติสลาวา

รัสเซีย
3–0
ญี่ปุ่น

เกาหลีใต้
3–2
เปรู
12
1995
รายละเอียด
ฝรั่งเศส
ออร์เลอ็อง

ญี่ปุ่น
3–1
รัสเซีย

อิตาลี
3–0
บราซิล
12
1997
รายละเอียด
ไทย
เชียงใหม่

บราซิล
3–0
รัสเซีย

อิตาลี
3–0
เกาหลีใต้
16
1999
รายละเอียด
โปรตุเกส
ฟุงชาล

ญี่ปุ่น
3–0
บราซิล

เกาหลีใต้
3–1
โปแลนด์
16
2001
รายละเอียด
โครเอเชีย
ปูลา

จีน
3–1
บราซิล

โปแลนด์
3–2
อิตาลี
16
2003
รายละเอียด
โปแลนด์
ปีวา

จีน
3–2
อิตาลี

บราซิล
3–1
สหรัฐอเมริกา
16
2005
รายละเอียด
มาเก๊า
มาเก๊า

บราซิล
3–0
รัสเซีย

อิตาลี
3–2
สหรัฐอเมริกา
16
2007
รายละเอียด
เม็กซิโก
เมคีกาลี / ตีฮัวนา

จีน
3–1
ตุรกี

รัสเซีย
3–2
เซอร์เบีย
16
2009
รายละเอียด
ไทย
นครราชสีมา

บราซิล
3–0
เซอร์เบีย

เบลเยียม
3–2
ตุรกี
16
2011
รายละเอียด
ตุรกี
อังการา

ตุรกี
3–0
จีน

เซอร์เบีย
3–0
โปแลนด์
16
2013
รายละเอียด
ไทย
นครราชสีมา

จีน
3–0
สหรัฐอเมริกา

บราซิล
3–0
เปรู
20
2015
รายละเอียด
เปรู
ลิมา

อิตาลี
3–0
สหรัฐอเมริกา

จีน
3–0
ตุรกี
20
2017
รายละเอียด
อาร์เจนตินา
โรซาริโอ / ซานตาเฟ

อิตาลี
3–1
สาธารณรัฐโดมินิกัน

รัสเซีย
3–1
ตุรกี
20
2019
รายละเอียด
อียิปต์
ไคโร

สหรัฐอเมริกา
3–2
อิตาลี

บราซิล
3–1
จีน
20
2021
รายละเอียด
เม็กซิโก
ดูรังโก

รัสเซีย
3–0
อิตาลี

สหรัฐอเมริกา
3–1
เซอร์เบีย
20
2023
รายละเอียด
โครเอเชีย ฮังการี
ออซิเยก / แซแก็ด

สหรัฐอเมริกา
3–2
ตุรกี

อิตาลี
3–2
ญี่ปุ่น
24

ตารางสรุปเหรียญ

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 จีน4116
2 บราซิล34310
3 อิตาลี2349
4 รัสเซีย2327
5 สหรัฐอเมริกา2215
6 ญี่ปุ่น2114
7 ตุรกี1203
8 เกาหลีใต้1023
9 สหภาพโซเวียต1012
10 เซอร์เบีย0112
11 สาธารณรัฐโดมินิกัน0101
12 เบลเยียม0011
 โปแลนด์0011
รวม (13 ประเทศ)18181854

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]
ทีม บราซิล
1989
(12)
โปรตุเกส
1991
(12)
สโลวาเกีย
1993
(12)
ฝรั่งเศส
1995
(12)
ไทย
1997
(16)
โปรตุเกส
1999
(16)
โครเอเชีย
2001
(15)
โปแลนด์
2003
(16)
มาเก๊า
2005
(16)
เม็กซิโก
2007
(16)
ไทย
2009
(16)
ตุรกี
2011
(16)
ไทย
2013
(20)
เปรู
2015
(20)
อาร์เจนตินา
2017
(20)
อียิปต์
2019
(20)
เม็กซิโก
2021
(20)
โครเอเชีย
ฮังการี
2023
(24)
รวม
 แอลจีเรีย 12th 16th 20th 3
 อาร์เจนตินา 9th 7th 9th 13th 9th 8th 8th 17th 10th 7th 12th 9th 9th 13
 ออสเตรีย 13th 1
 เบลารุส 13th 13th 9th 9th 17th 5
 เบลเยียม 6th 3rd 12th 3
 บราซิล 2nd 2nd 5th 4th 1st 2nd 2nd 3rd 1st 5th 1st 6th 3rd 11th 10th 3rd 5th 7th 18
 บัลแกเรีย 5th 6th 11th 17th 8th 5
 แคเมอรูน 19th 19th 22nd 3
 แคนาดา 11th 14th 16th 19th 3
 ชิลี 23rd 1
 จีน 6th 5th 1st 1st 7th 1st 13th 2nd 1st 3rd 19th 4th 10th 13
 จีนไทเป 13th 7th 9th 9th 11th 19th 6
 โคลอมเบีย 14th 1
 โครเอเชีย 8th 9th 5th 6th 5th 5
 คิวบา 5th 7th 8th 8th 20th 20th 6
 เช็กเกีย 5th 8th 9th 9th 13th 9th 6[A]
 สาธารณรัฐโดมินิกัน 13th 8th 8th 11th 8th 17th 2nd 10th 13th 9
 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 20th 1
 อียิปต์ 9th 13th 9th 15th 14th 15th 14th 10th 18th 16th 10
 ฝรั่งเศส 9th 9th 2
 เยอรมนี 11th 10th 5th 6th 6th 21st 6
 กรีซ 12th 1
 ฮังการี 13th 15th 2
 อิตาลี 3rd 3rd 7th 4th 2nd 3rd 12th 8th 11th 10th 1st 1st 2nd 2nd 3rd 15
 ญี่ปุ่น 3rd 4th 2nd 1st 13th 1st 5th 7th 5th 7th 5th 9th 5th 5th 4th 15
 เคนยา 13th 13th 2
 ลัตเวีย 11th 1
 มาเก๊า 13th 1
 มอริเชียส 13th 13th 2
 เม็กซิโก 9th 11th 13th 9th 12th 18th 15th 18th 18th 13th 18th 11
 เนเธอร์แลนด์ 9th 9th 2
 นิวซีแลนด์ 11th 1
 ไนจีเรีย 13th 19th 24th 3
 เปรู 7th 4th 14th 6th 4th 16th 12th 8th 14th 20th 10
 โปแลนด์ 9th 7th 4th 3rd 8th 4th 7th 8th 16th 8th 12th 11
 โปรตุเกส 11th 9th 2
 ปวยร์โตรีโก 10th 13th 15th 15th 14th 16th 15th 14th 8
 โรมาเนีย 8th 9th 6th 6th 4
 รัสเซีย 1st 3rd 1st 2nd 2nd 9th 6th 7th 2nd 3rd 7th 3rd 7th 1st 14[B]
 เซอร์เบีย 9th 4th 2nd 3rd 6th 5th 13th 4th 17th 9[C]
 สโลวาเกีย 7th 9th 14th 10th 12th 5
 สโลวีเนีย 13th 15th 2
 เกาหลีใต้ 4th 1st 3rd 5th 4th 3rd 9th 5th 9th 13th 11th 13th 11th 13
 สเปน 9th 1
 ไทย 5th 6th 7th 13th 16th 18th 17th 15th 11th 6th 10
 ตูนิเซีย 13th 16th 16th 19th 4
 ตุรกี 6th 13th 2nd 4th 1st 9th 4th 4th 9th 7th 2nd 11
 ยูเครน 9th 6th 9th 3
 สหรัฐอเมริกา 9th 6th 4th 4th 10th 12th 9th 2nd 2nd 8th 1st 3rd 1st 13
 อุรุกวัย 7th 1
 เวเนซุเอลา 9th 1

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. Czech Republic's total includes two appearances as Czechoslovakia in 1991 and 1993.
  2. Russia's total includes two appearances as Soviet Union in 1989 and 1991.
  3. Serbia's total includes one appearance as Serbia and Montenegro in 2003.

อ้างอิง

[แก้]
  1. "New regulations for age group categories adopted by FIVB". www.norceca.info. North, Central America and Caribbean Volleyball Confederation. 30 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-31. สืบค้นเมื่อ 2024-03-06.
  2. "AVC GOES AHEAD WITH ADJUSTMENT OF 2022 AVC AGE GROUP CHAMPIONSHIPS, AS NAKHON PATHOM TO HOST 2 AVC EVENTS IN JUNE". asianvolleyball.net. Asian Volleyball Confederation. 14 April 2022.
  3. "FIVB VOLLEYBALL AGE GROUP WORLD CHAMPIONSHIPS 2023 Expression of Interest and Organisational Conditions for Future Organisers" (PDF). FIVB. 2 June 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]