วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก
หน้าตา
การแข่งขันหรือฤดูกาลครั้งต่อไป: วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2022 | |
กีฬา | วอลเลย์บอล |
---|---|
ก่อตั้ง | 1949 |
ฤดูกาลแรก | 1949 |
ซีอีโอ | อาลี กราซา |
จำนวนทีม | 24 (รอบสุดท้าย) |
ทวีป | ระหว่างประเทศ (เอฟไอวีบี) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | อิตาลี (4 สมัย) |
ทีมชนะเลิศสูงสุด | สหภาพโซเวียต (6 สมัย) |
หุ้นส่วนสตรีมมิง | Volleyball TV (ตั้งแต่ 2018) |
เว็บไซต์ | Volleyball World Championship |
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIVB Volleyball Men's World Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับทีมชาติชุดใหญ่ของสมาชิกเอฟไอวีบี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1949 ซึ่งในช่วงแรกของการแข่งขันได้การจัดการแข่งขันแตกต่างกันไป (1949, 1952, 1956, 1960, 1962) ตั้งแต่ในปี ค.ศ. 1962 การแข่งขันได้รับการจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี
สรุปการแข่งขัน
[แก้]เจ้าภาพ
[แก้]รายชื่อเจ้าภาพแบ่งตามจำนวนการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันชิงแชมป์โลก
ครั้งที่เป็นเจ้าภาพ | ประเทศ | ปี |
---|---|---|
3 | อิตาลี | 1978, 2010, 2018* |
2 | โปแลนด์ | 2014, 2022* |
อาร์เจนตินา | 1982, 2002 | |
บราซิล | 1960, 1990 | |
บัลแกเรีย | 1970, 2018* | |
เชโกสโลวาเกีย | 1949, 1966 | |
ฝรั่งเศส | 1956, 1986 | |
ญี่ปุ่น | 1998, 2006 | |
สหภาพโซเวียต | 1952, 1962 | |
1 | กรีซ | 1994 |
เม็กซิโก | 1974 | |
สโลวีเนีย | 2022* |
- * = เจ้าภาพร่วม
สรุปเหรียญรางวัล
[แก้]ลำดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | สหภาพโซเวียต | 6 | 2 | 3 | 11 |
2 | อิตาลี | 4 | 1 | 0 | 5 |
3 | บราซิล | 3 | 3 | 1 | 7 |
4 | โปแลนด์ | 3 | 2 | 0 | 5 |
5 | เชโกสโลวาเกีย | 2 | 4 | 0 | 6 |
6 | สหรัฐ | 1 | 0 | 2 | 3 |
7 | เยอรมนีตะวันออก | 1 | 0 | 0 | 1 |
8 | คิวบา | 0 | 2 | 2 | 4 |
โรมาเนีย | 0 | 2 | 2 | 4 | |
10 | บัลแกเรีย | 0 | 1 | 4 | 5 |
11 | ยูโกสลาเวีย | 0 | 1 | 0 | 1 |
รัสเซีย | 0 | 1 | 0 | 1 | |
เนเธอร์แลนด์ | 0 | 1 | 0 | 1 | |
14 | ญี่ปุ่น | 0 | 0 | 2 | 2 |
15 | ฝรั่งเศส | 0 | 0 | 1 | 1 |
อาร์เจนตินา | 0 | 0 | 1 | 1 | |
เซอร์เบีย | 0 | 0 | 1 | 1 | |
เยอรมนี | 0 | 0 | 1 | 1 | |
รวม (18 ประเทศ) | 20 | 20 | 20 | 60 |
ผู้เล่นทรงคุณค่า
[แก้]- 1949–66 – ไม่ได้รับรางวัล [1]
- 1970 – รูดี ชูมัน (GDR)
- 1974 – สตาญิสวัฟ กอชชีญัก (POL)
- 1982 – ไม่ทราบ
- 1986 – ฟิลิปป์ แบล็ง (FRA)
- 1990 – อันเดรอา ลูเกตตา (ITA)
- 1994 – โลเรนโซ เบร์นาร์ดี (ITA)
- 1998 – ราฟาเอล ปัสกวล (ESP)
- 2002 – มาร์กอส มิลินโกบิก (ARG)
- 2006 – ชิลเบร์ตู โกดอย ฟิลยู (BRA)
- 2010 – มูรีลู เองดริส (BRA)
- 2014 – มารีอุตช์ วลาซ์วือ (POL)
- 2018 – บาร์ตอช กูแร็ก (POL)
- 2022 – ซีโมเน จันเนลลี (ITA)
ดูเพิ่ม
[แก้]- กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิก
- วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ
- วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
- วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก
- วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Volleywood. "List of MVP by edition - Women's World Championship". Volleywood.net.