ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายทีมชาติบัลแกเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บัลแกเรีย
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลบัลแกเรีย
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนปลาแมน คอนสแตนติโนฟ
อันดับเอฟไอวีบี21 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน8 (ครั้งแรกเมื่อ 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1980)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน17 (ครั้งแรกเมื่อ 1949)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1970)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน5 (ครั้งแรกเมื่อ 1965)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (2007)
www.volleyball.bg (บัลแกเรีย) (อังกฤษ)
วอลเลย์บอลชายทีมชาติบัลแกเรีย
เหรียญรางวัล
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1980 มอสโก ทีม
ชิงแชมป์โลก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1970 โซเฟีย ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1949 ปราก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1952 มอสโก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1986 ปารีส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2006 ญี่ปุ่น ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2007 ญี่ปุ่น ทีม
ชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1951 ปารีส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1955 บูคาเรสต์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1981 วาร์นา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1983 เบอร์ลินตะวันออก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2009 ตุรกี ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติบัลแกเรีย (บัลแกเรีย: Мъжки национален отбор по волейбол на България) เป็นทีมชาติของประเทศบัลแกเรีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลบัลแกเรีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

ผลงานทีมล่าสุดสามารถคว้าอันดับที่ 3 จาก 3 รายการ คือวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก 2006, วอลเลย์บอลชายเวิลด์คัพ 2007 และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2009

รางวัล

[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
ปี อันดับ อ้างอิง
ญี่ปุ่น 1964 5 [1]
เม็กซิโก 1968 6 [2]
เยอรมนีตะวันตก 1972 4
แคนาดา 1976 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
สหภาพโซเวียต 1980 รองชนะเลิศ
สหรัฐอเมริกา 1984 ขอถอนตัว
เกาหลีใต้ 1988 6
สเปน 1992 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
สหรัฐอเมริกา 1996 7
ออสเตรเลีย 2000 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
กรีซ 2004 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
จีน 2008 5
สหราชอาณาจักร 2012 4

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

[แก้]
ปี อันดับ
เชโกสโลวาเกีย 1949 3
สหภาพโซเวียต 1952 3
ฝรั่งเศส 1956 5
บราซิล 1960 7
สหภาพโซเวียต 1962 4
เชโกสโลวาเกีย 1966 7
บัลแกเรีย 1970 2
เม็กซิโก 1974 7
อิตาลี 1978 10
อาร์เจนตินา 1982 5
ฝรั่งเศส 1986 3
บราซิล 1990 5
กรีซ 1994 9
ญี่ปุ่น 1998 7
อาร์เจนตินา 2002 13
ญี่ปุ่น 2006 3
อิตาลี 2010 7
โปแลนด์ 2014 13

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

[แก้]
ปี อันดับ
ญี่ปุ่น 1990 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
อิตาลี 1991
อิตาลี 1992
บราซิล 1993
อิตาลี 1994 4
บราซิล 1995 5
เนเธอร์แลนด์ 1996 8
รัสเซีย 1997 6
อิตาลี 1998 7
อาร์เจนตินา 1999 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
เนเธอร์แลนด์ 2000
โปแลนด์ 2001
บราซิล 2002
สเปน 2003 5
อิตาลี 2004 4
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005 5
รัสเซีย 2006 4
โปแลนด์ 2007 5
บราซิล 2008 7
เซอร์เบีย 2009 10
อาร์เจนตินา 2010 7
โปแลนด์ 2011 5
บัลแกเรีย 2012 4
อาร์เจนตินา 2013 4
อิตาลี 2014 7
บราซิล 2015 10
โปแลนด์ 2016 11

วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป

[แก้]
ปี อันดับ
อิตาลี 1948 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
บัลแกเรีย 1950 4
ฝรั่งเศส 1951 รองชนะเลิศ
โรมาเนีย 1955 3
เชโกสโลวาเกีย 1958 4
โรมาเนีย 1963 4
ตุรกี 1967 9
อิตาลี 1971 7
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1975 5
ฟินแลนด์ 1977 5
ฝรั่งเศส 1979 10
บัลแกเรีย 1981 3
เยอรมนีตะวันออก 1983 3
เนเธอร์แลนด์ 1985 5
เบลเยียม 1987 11
สวีเดน 1989 6
เยอรมนี 1991 5
ฟินแลนด์ 1993 5
กรีซ 1995 4
เนเธอร์แลนด์ 1997 9
ออสเตรีย 1999 7
เช็กเกีย 2001 6
เยอรมนี 2003 9
อิตาลี 2005 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
รัสเซีย 2007 8
ตุรกี 2009 3
ออสเตรีย/เช็กเกีย 2011 6
เดนมาร์ก/โปแลนด์ 2013 4
บัลแกเรีย/อิตาลี 2015 4

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Summer Olympic Games Official Report Volume 2, Page 655" (PDF). Summer Olympic Games Official Report. LA84 Foundation. สืบค้นเมื่อ 12 July 2013.
  2. "Summer Olympic Games Official Report, Page 562" (PDF). Summer Olympic Games Official Report. LA84 Foundation. สืบค้นเมื่อ 12 July 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]