วยาส
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก วยาสะ)
วยาส | |
---|---|
ส่วนบุคคล | |
เกิด | กฤษณไทฺวปายนะ |
ศาสนา | ศาสนาฮินดู |
คู่สมรส | วติกา[1][2] |
บุตร | |
บุพการี | |
รู้จักจาก | มหาภารตะ |
เกียรติยศ | คุรุปูรณิมา (วยาสปูรณิมา) |
กฤษณไทฺวปายนะ (สันสกฤต: कृष्णद्वैपायन, อักษรโรมัน: Kṛṣṇadvaipāyana) หรือ วยาสะ (สันสกฤต: व्यासः, อักษรโรมัน: Vyāsaḥ, แปลตรงตัว 'ผู้รวบรวม') หรือ เวทวยาสะ (वेदव्यासः, Veda-vyāsaḥ, "ผู้รวบรวมพระเวท") หรือ ฤๅษีวยาส เป็นฤๅษีในตำนานที่ปรากฏในมหาภารตะ ซึ่งชาวฮินดูถือว่าเป็นผู้ประพันธ์มหาภารตะ และเป็นอวตารของพระวิษณุ นอกจากนี้ยังเชื่อว่าท่านเป็นผู้ประพันธ์มนตร์ในพระเวท, ปุราณะทั้ง 18 เล่ม และพรหมสูตร
ในมหาภารตะระบุว่าท่านเป็นบุตรของสัตยวตีและฤๅษีพรหมินปราศร
เทศกาลคุรุปูรณิมา หรือรู้จักอีกชื่อคือ วยาสปูรณิมา เป็นเทศกาลเฉลิมฉลองฤๅษีวยาสะในฐานะวันคล้ายวันเกิดและวันที่ท่านเริ่มแบ่งพระเวท[3][4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Dalal 2019.
- ↑ Pattanaik 2000.
- ↑ Awakening Indians to India. Chinmaya Mission. 2008. p. 167. ISBN 978-81-7597-434-0.[ลิงก์เสีย]
- ↑ What Is Hinduism?: Modern Adventures Into a Profound Global Faith. Himalayan Academy Publications. 2007. p. 230. ISBN 978-1-934145-00-5.
บรรณานุกรม
[แก้]- Dalal, Roshen (2019-01-06). The 108 Upanishads: An Introduction (ภาษาอังกฤษ). Penguin Random House India Private Limited. ISBN 978-93-5305-377-2.
- Maas, Philipp A. (2006), Samādhipāda. Das erste Kapitel des Pātañjalayogaśāstra zum ersten Mal kritisch ediert. (Samādhipāda. The First Chapter of the Pātañjalayogaśās-tra for the First Time Critically Edited)., Aachen: Shaker
- Pattanaik, Devdutt (2000-09-01). The Goddess in India: The Five Faces of the Eternal Feminine (ภาษาอังกฤษ). Simon and Schuster. ISBN 978-1-59477-537-6.
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ฤๅษีวยาส