ข้ามไปเนื้อหา

ลาฟร็องแซ็งซูมีซ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลาฟร็องแซ็งซูมีซ
La France Insoumise
ชื่อย่อFI, LFI
ผู้ก่อตั้งฌ็อง-ลุก เมล็องชง
ผู้ประสานพรรคมานูเอล บงพาร์ด
ก่อตั้ง10 กุมภาพันธ์ 2016; 8 ปีก่อน (2016-02-10)
ที่ทำการ6 bis, rue des Anglais
91300 Massy
หนังสือพิมพ์L'Insoumission Hebdo
ฝ่ายเยาวชนเลเฌินแซ็งซูมี (Les Jeunes insoumis·es)
อุดมการณ์
จุดยืนฝ่ายซ้าย[8][9][10][11] ถึง
ฝ่ายซ้ายจัด[12][13][14][15]
กลุ่มระดับชาติแนวร่วมประชาชนใหม่ (2024–ปัจจุบัน)
สหภาพประชาชนเชิงนิเวศน์และสังคมใหม่ (2022–2024)
กลุ่มในภูมิภาคParty of the European Left (ผู้สังเกตการณ์)
Now the People
กลุ่มในสภายุโรปกลุ่มซ้ายในรัฐสภายุโรป – GUE/NGL[16]
สี  สีไวโอเลต   สีแดงสด
สมัชชาแห่งชาติ
74 / 577
วุฒิสภา
0 / 348
รัฐสภายุโรป (ที่นั่งของฝรั่งเศส)
9 / 81
สภาภูมิภาค
27 / 1,758
เว็บไซต์
lafranceinsoumise.fr
การเมืองฝรั่งเศส
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

ลาฟร็องแซ็งซูมีซ (ฝรั่งเศส: La France Insoumise, ย่อเป็น FI หรือ LFI; แปลว่า ฝรั่งเศสกบฎ) เป็นพรรคการเมืองฝ่ายซ้ายในฝรั่งเศส ที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 10 กุมพาพันธ์ ค.ศ. 2016 โดยฌ็อง-ลุก เมล็องชง อดีตสมาชิกรัฐสภายุโรป ตอนนี้มีมานูเอล บงพาร์ด เป็นผู้ประสานพรรคตั้งแต่ปีค.ศ. 2022 ตำแหน่งนี้เทียบได้กับหัวหน้าพรรคในการบริหารพรรคการเมือง

เมลองชงเป็นผู้สมัครของพรรคเพื่อชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งประธานาธิบดีของพ.ศ. 2560 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ต่อมา ในการเลือกตั้งสมาชิกสมัชชาแห่งชาติในปีเดียวกัน พรรคได้รับ 17 ที่นั่งในสภา ด้วยมีเมลองชงเป็นประธานกลุ่มในสภา แล้วในปีพ.ศ. 2562 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภายุโรปในประเทศฝรั่งเศส พรรคได้รับ 6 ที่นั่งในรัฐสภา

ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีของพ.ศ. 2565 เมลองชงได้เป็นผู้สมัครของพรรคเพื่อชิงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ต่อมา พรรคได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรฝ่ายซ้ายที่ชื่อ สหภาพประชาชนเชิงนิเวศน์และสังคมใหม่ หรือย่อเป็นภาษาฝรั่งเศส นูเพส (ฝรั่งเศส: Nouvelle Union populaire écologique et sociale, ย่อเป็น NUPES) เพื่อการเลือกตั้งสมาชิกสมัชชาแห่งชาติของปีเดียวกัน ทำให้พรรคได้รับ 69 ที่นั่งในสภา ซึ้งได้ชนะที่นั่งมากกว่าในการเลือกตั้งของปีพ.ศ. 2560

ประวัติสัญลักษณ์พรรค[แก้]

การเลือกตั้ง[แก้]

ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดี[แก้]

การเลือกตั้ง ผู้นำเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2
คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง
2017 ฌ็อง-ลุก เมล็องชง 7,059,951 19.58% ไม่ผ่านรอบที่ 1
2022 7,712,520 21.95%

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ[แก้]

การเลือกตั้ง ผู้นำเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2 จำนวนที่นั่ง ที่นั่งเปลี่ยน ผลการเลือกตั้้ง
คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง
2017 ฌ็อง-ลุก เมล็องชง 2,497,622 11.03% 883,573 4.86%
17 / 577
เพิ่มขึ้น 17 ฝ่ายค้าน
2022 3,130,785 13.74% 3,311,071 15.96%
66 / 577
เพิ่มขึ้น 53 ฝ่ายค้าน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภายุโรป[แก้]

การเลือกตั้ง ผู้นำเลือกตั้ง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง จำนวนที่นั่ง
2019 มานง โอบรี 1,428,548 6.31%
17 / 577

ผลการเลือกตั้งสภาภูมิภาค[แก้]

การเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2 จำนวนที่นั่ง
คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง สมาชิกสภา ประธานสภา
2021 123,825 0.84% ไม่ผ่านรอบที่ 1
0 / 1,926
0 / 26

ผลการเลือกตั้งสภาแผนก[แก้]

การเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2 จำนวนที่นั่ง
คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง สมาชิกสภา ประธานสภา
2021 108,325 0.79% 5,769 0.04%
6 / 4,046
0 / 100

ผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี[แก้]

การเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2 จำนวนนายกเทศมนตรี จำนวนสมาชิกสภา
สัดส่วนคะแนนเสียง สัดส่วนคะแนนเสียง
2020 0.43% 0.09%
0 / 42
46 / 222,818

ผู้บริหาร[แก้]

ผู้ประสานพรรค[แก้]

ลำดับ รูป ชื่อ เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1
(1)
มานูเอล บงพาร์ด 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017 22 มิถุนายน ค.ศ. 2019
2 อาดรียน กาเทนนังส์ 22 มิถุนายน ค.ศ. 2019 18 กันยายน ค.ศ. 2022
3
(2)
มานูเอล บงพาร์ด 10 ธันวาคม ค.ศ. 2022 ปัจจุบัน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Nordsieck, Wolfram (2017). "France". Parties and Elections in Europe.
  2. Arthur Nazaret (10 เมษายน 2014). "Quand Dray plante sa plume dans Mélenchon". Le Journal du Dimanche (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2018.
  3. Ivaldi, Gilles (2018). "Populism in France". ใน Stockemer, Daniel (บ.ก.). Populism Around the World. A Comparative Perspective. Springer. pp. 27–48. doi:10.1007/978-3-319-96758-5_3. ISBN 978-3-319-96757-8.
  4. Abel Mestre (21 ตุลาคม 2017). "La tentation souverainiste de Jean-Luc Mélenchon". Le Monde. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2019.
  5. Denis Tugdual (5 เมษายน 2013). "Le Pen-Mélenchon: la mode est au langage populiste". L'Express (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2018.
  6. Jean-Laurent Cassely (15 เมษายน 2013). "Le populisme "vintage" de Jean-Luc Mélenchon, trop élaboré pour être efficace". Slate (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 29 มีนาคม 2018.
  7. Chadwick, Lauren (6 พฤษภาคม 2022). "France's left-wing parties agree on legislative alliance". euronews (ภาษาอังกฤษ).
  8. Baker, Luke (18 กันยายน 2017). "French unions and left-wing plan 10 days of action to rattle Macron". Reuters. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2020.
  9. Barbière, Cécile (3 ตุลาคม 2018). "La France Insoumise wants to turn European elections into anti-Macron referendum". Euractiv. สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2019.
  10. "Schools in France to display flags in classrooms". BBC News. 2 กันยายน 2019. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2020.
  11. Dodman, Benjamin (25 พฤศจิกายน 2019). "Tackling domestic violence: 'If you ask the right questions at the right time, you will save lives'". France 24. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2020.
  12. "" L'un d'entre nous va bien arriver à gagner les élections ", Mélenchon rencontre le leader du Labour". Ouest-France. Agence France-Presse. 24 กันยายน 2018. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2019.
  13. Robin Korda (19 ตุลาคม 2018). "Perquisitions, dérapages : la mise au point de Mélenchon après une semaine houleuse". Le Parisien. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2019.
  14. "French pension reform chief Jean-Paul Delevoye resigns over undeclared income". Euronews. 16 ธันวาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2020.
  15. Nordstrom, Louise (12 มิถุนายน 2017). "André Chassaigne: One of the last defenders of France's 'dead' Communist Party?". France 24. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2021.
  16. "8th parliamentary term | Marie-Pierre VIEU | MEPs | European Parliament". www.europarl.europa.eu. กุมภาพันธ์ 1967.