ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2558–2559
ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2558–2559 | |
---|---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | |
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 16 มีนาคม พ.ศ. 2559 |
พายุมีกำลังมากที่สุด | |
ชื่อ | สแตน |
• ลมแรงสูงสุด | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที) |
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 975 hPa (มิลลิบาร์) |
สถิติฤดูกาล | |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน | 11 |
พายุไซโคลนเขตร้อน | 3 |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 0 คน |
ความเสียหายทั้งหมด | ไม่ทราบ |
ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2558-2559 เป็นฤดูกาลในอดีตซึ่งเคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ภายในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ระหว่าง 90°ตะวันออก ถึง 160°ตะวันออก โดยฤดูกาลนี้จะเริ่มนับอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559 อย่างไรก็ตาม พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวได้ตลอดเวลาตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 และจะถูกนับรวมในฤดูกาลนี้ด้วย ในระหว่างฤดูกาล พายุหมุนเขตร้อนจะถูกตรวจสอบโดยหนึ่งจากห้าศูนย์เตือนพายุหมุนเขตร้อน (TCWC) ที่ทำงานอยู่ภายในภูมิภาคนี้ ซึ่งสามจากห้าศูนย์ซึ่งกำกับการทำงานโดยสำนักงานอุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลีย ในเพิร์ท, ดาร์วิน และบริสเบน ในขณะที่อีกสองหน่วยงานจะถูกกำกับการทำงานโดยศูนย์บริการสภาพอากาศแห่งชาติปาปัวนิวกินี ใน พอร์ตมอร์สบี และสำนักอุตุนิยมวิทยา สภาพภูมิอากาศ และธรณีฟิสิกส์แห่งอินโดนีเซีย ใน จาการ์ตา ส่วนศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นของสหรัฐอเมริกา และหน่วยงานบริการทางอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติรวมถึงเมเทโอฟรานส์ จะตรวจสอบพายุในระหว่างฤดูกาล ฤดูกาลนี้เริ่มต้นเมื่อมีพายุดีเปรสชันเขตร้อนเคลื่อนเข้ามาในแอ่งภูมิภาคออสเตรเลีย จากแอ่งแปซิฟิกใต้ และทวีกำลังเป็นพายุไซโคลนราเควล์ในวันที่ 30 มิถุนายน ทำให้มันกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ลูกแรกที่เกิดขึ้นในระหว่างเดือนกรกฎาคม ตั้งแต่มีการบันทึกมา
ภาพรวมฤดูกาล
[แก้]
|
|
|
พายุ
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 04U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 19 – 24 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม 1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท) |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 05U
[แก้]ความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 23 ธันวาคม – 1 มกราคม | ||
ความรุนแรง | 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท) |
บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 06U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 25 – 29 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม ไม่ทราบความกดอากาศ |
บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 07U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 19 – 25 มกราคม | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม ไม่ทราบความกดอากาศ |
- วันที่ 19 มกราคม ศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนเพิร์ท (TCWC เพิร์ท) รายงานว่าพบการก่อตัวของบริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อนภายในมหาสมุทรอินเดียกลาง
พายุไซโคลนสแตน
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 27 – 31 มกราคม | ||
ความรุนแรง | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 973 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.73 นิ้วปรอท) |
พายุไซโคลนอูเรียห์
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 8 – 14 กุมภาพันธ์ (ออกนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 982 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29 นิ้วปรอท) |
พายุไซโคลนทาเทียนา
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 10 – 12 กุมภาพันธ์ (ออกนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 983 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.03 นิ้วปรอท) |
บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 12U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 1 – 6 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท) |
บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 14U
[แก้]ความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 14 – 16 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท) |
พายุอื่น ๆ
[แก้]พายุไซโคลนราเควล์
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 30 มิถุนายน (เข้ามาในแอ่ง) – 5 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท) |
- วันที่ 30 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 17F เคลื่อนตัวเข้าสู่ภูมิภาคออสเตรเลีย และมีความรุนแรงขึ้นเป็นพายุไซโคลนราเควล์
- วันที่ 3 กรกฎาคม หลังจากที่พายุได้เคลื่อนที่หมุนย้อนกลับเป็นเวลา 2 วัน ระบบก็ได้เคลื่อนออกจากภูมิภาคออสเตรเลียกลับเข้าสู่แปซิฟิกใต้อีกครั้ง
- วันที่ 4 กรกฎาคม อย่างไรก็ตาม ราเควล์ ได้กลับเข้ามาในแอ่งอีกครั้ง ในช่วงต้นของวัน
- วันที่ 5 กรกฎาคม ราเควล์ อ่อนกำลังลงเป็นความกดอากาศต่ำ
ทั้งนี้เป็นไปตามที่สำนักอุตุนิยมวิทยา ระบุว่ามันเป็นกรณีของพายุหมุนเขตร้อนแรกของเดือนกรกฎาคม นับตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของดาวเทียม และในฐานะที่เป็นผลพลอยได้จากการกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนในวันแรกของการเริ่มต้นฤดูกาล มันจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นฤดูกาลที่เก่าแก่ที่สุดในบันทึกของแอ่งนี้[1]
รายชื่อพายุที่เกิดขึ้น
[แก้]TCWC จาการ์ตา
[แก้]TCWC จาการ์ตา จะกำหนดชื่อของพายุไซโคลนเขตร้อนจากเส้นศูนย์สูตรที่ระยะ 11°ใต้ และระหว่าง 90°ตะวันออก ถึง 145°ตะวันออก เมื่อดีเปรสชันทวีความรุนแรงเป็นไซโคลนเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตา ศูนย์ก็จะเป็นผู้กำหนดชื่อของพายุจากรายการ[2]
เซ็มปากา (ยังไม่ใช้) | ดาห์เลีย (ยังไม่ใช้) | ฟลัมโบยัน (ยังไม่ใช้) | เคนันงา (ยังไม่ใช้) | ลีลี (ยังไม่ใช้) |
มาวาร์ (ยังไม่ใช้) | เซโรจา (ยังไม่ใช้) | เทราไท (ยังไม่ใช้) | อังกูร์ (ยังไม่ใช้) | บากุง (ยังไม่ใช้) |
TCWC พอร์ตมอร์สบี
[แก้]ถ้าพายุไซโคลนเขตร้อนพัฒนาขึ้นในตอนเหนือของ 11°ใต้ ระหว่าง 151°ตะวันออกถึง 160°ตะวันออก TCWC พอร์ตมอร์สบี จะเป็นผู้ประกาศใช้ชื่อพายุ โดยพายุบริเวณนี้จะก่อตัวได้ยากมากโดยครั้งล่าสุดที่มีการก่อตัวและพัฒนาของพายุคือเมื่อปี พ.ศ. 2550[3]
อาลู (ยังไม่ใช้) | บูรี (ยังไม่ใช้) | โดโด (ยังไม่ใช้) | อีมัว (ยังไม่ใช้) | เฟเร (ยังไม่ใช้) | ฮีบู (ยังไม่ใช้) | อีลา (ยังไม่ใช้) | กามา (ยังไม่ใช้) | โลบู (ยังไม่ใช้) | ไมลา (ยังไม่ใช้) |
สำนักงานอุตุนิยมวิทยา
[แก้]ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-52 มีเพียงหนึ่งรายชื่อที่ศูนย์อุตุนิยมวิทยาเป็นผู้ประกาศใช้[2] อย่างไรก็ตามศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียยังคงทำงานอยู่ในเมืองต่างๆ คือ เพิร์ท, ดาร์วิน และบริสเบน โดยมีหน้าที่ตรวจสอบพายุไซโคลนเขตร้อนที่ก่อตัวทั้งหมดในภูมิภาคออสเตรเลีย และออกคำแนะนำพิเศษให้ทั้งพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตาหรือ TCWC พอร์ตมอร์สบี
สแตน | ทาเทียนา | อูเรียห์ | เวตเต (ยังไม่ใช้) | อัลเฟรด (ยังไม่ใช้) | บลันเช (ยังไม่ใช้) | เซเลบ (ยังไม่ใช้) |
เดบบี (ยังไม่ใช้) | เอร์นี (ยังไม่ใช้) | ฟรันเซส (ยังไม่ใช้) | เกรก (ยังไม่ใช้) | ฮิลดา (ยังไม่ใช้) | ไอโซเบล (ยังไม่ใช้) | จอยซ์ (ยังไม่ใช้) |
ผลกระทบ
[แก้]ชื่อ | ระหว่างวันที่ | ความรุนแรงสูงสุด | ความเร็วลม เฉลี่ย |
ความกดอากาศ | พื้นที่ผลกระทบ | ความเสียหาย (AUD) |
ความเสียหาย (USD) |
ผู้เสียชีวิต | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
04U | 17 – 23 ธันวาคม | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | ไม่ได้ระบุ | 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
05U | 21 ธันวาคม – 1 มกราคม | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) | 994 hPa (29.35 นิ้วปรอท) | นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
06U | 27 – 29 ธันวาคม | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | ไม่ได้ระบุ | ไม่ได้ระบุ | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
07U | 19 – 25 มกราคม | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | ไม่ได้ระบุ | ไม่ได้ระบุ | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
สแตน | 27 – 31 มกราคม | พายุไซโคลนระดับ 2 | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) | 973 hPa (28.73 นิ้วปรอท) | รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย รัฐเซาท์ออสเตรเลีย และรัฐวิกตอเลีย | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
09U | 5 กุมภาพันธ์ – ปัจจุบัน | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) | 997 hPa (29.44 นิ้วปรอท) | หมู่เกาะโคโคส (คีลิง) | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
ทาเทียนา | 10 – 12 กุมภาพันธ์ | พายุไซโคลนระดับ 2 | 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) | 983 hPa (29.03 นิ้วปรอท) | รัฐควีนส์แลนด์ | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
ต่ำ | 14 – 16 กุมภาพันธ์ | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | ไม่ได้ระบุ | ไม่ได้ระบุ | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
12U | 1 – 6 มีนาคม | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) | 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
วินสตัน | 3 มีนาคม | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | ไม่ได้ระบุ | 1010 hPa (29.82 นิ้วปรอท) | รัฐควีนส์แลนด์ | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
14U | 14 – 16 มีนาคม | บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) | 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) | นอร์ทเทิร์นเทริทอรี | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | |
สรุปฤดูกาล | |||||||||
7 ลูก | 17 ธันวาคม – 16 มีนาคม | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) | 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) | ไม่ทราบ | ไม่ทราบ | 0 |
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อฤดูไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย
- ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก: 2558, 2559
- ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก: 2558, 2559
- ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก: 2558, 2559
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ: 2558, 2559
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2558–2559
- ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2558–2559
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Peter Hannam (1 กรกฎาคม 2015). "Cyclone Raquel forms as earliest big storm recorded off Australia's north-east". The Sydney Morning Herald. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2015.
- ↑ 2.0 2.1 "Tropical Cyclone Operational plan for the South Pacific & Southeast indian Ocean, 2012 Edition" (PDF). WMO. สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2013.
- ↑ Gary Padgett; Simon Clarke (13 กรกฎาคม 2008). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary November 2007". Australian Severe Weather. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2022.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "ศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลีย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2009.
- "ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 มีนาคม 2010.
- ศูนย์เตือนภัยไซโคลนเขตร้อนจาการ์ตา