รายชื่อผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก รายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย)
ผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย | |
---|---|
เครื่องหมายราชการ | |
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน วีริศ อัมระปาล ตั้งแต่ 17 กันยายน พ.ศ. 2567 (ข้อผิดพลาด: แม่แบบ:อายุปีและวัน รองรับเฉพาะปีพุทธศักราช หากใช้เป็นคริสต์ศักราช กรุณาใช้ แม่แบบ:Age in years and days) | |
ผู้เสนอชื่อ | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม |
ผู้แต่งตั้ง | คณะรัฐมนตรีไทย |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | คาร์ล เบธเก ในฐานะเจ้ากรมรถไฟ |
สถาปนา | พ.ศ. 2439 |
เว็บไซต์ | การรถไฟแห่งประเทศไทย |
ด้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามเจ้ากรมรถไฟ ผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย
รายพระนามและรายนาม
[แก้]เจ้ากรมรถไฟ, เจ้ากรมรถไฟสายเหนือ, นายช่างผู้บังคับการกรมรถไฟสายใต้ | |||||
---|---|---|---|---|---|
ลำดับ (สมัย) |
รูป | รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ |
1 | คาร์ล เบธเก (Karl Bethge) |
พ.ศ. 2439 | พ.ศ. 2442 | ||
2 | แฮร์มัน เกทส์ (Hermann Gehrts) |
พ.ศ. 2442 | พ.ศ. 2447 | ||
3 | ลูอิส ไวเลอร์ (Luis Weiler) |
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 | 5 มิถุนายน พ.ศ. 2460 | สายเหนือ | |
4 | เฮนรี่ กิตตินส์ (Henry Gittins) |
1 มิถุนายน พ.ศ. 2452 | 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2460 | นายช่างผู้บังคับการ กรมรถไฟสายใต้ | |
ผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง | |||||
ลำดับ (สมัย) |
รูป | รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ |
1 | พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงกำแพงเพชรอัครโยธิน | 5 มิถุนายน พ.ศ. 2460[1] | 8 กันยายน พ.ศ. 2471 | ||
2 | พระยาสารศาสตร์ศิริลักษณ์ | 8 กันยายน พ.ศ. 2471[2] | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2475 | ||
3 | พระยาสฤษดิการบรรจง | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2475[3] | 1 เมษายน พ.ศ. 2476 | ||
4 | พระยาประกิตกลศาสตร์ | 1 เมษายน พ.ศ. 2476 | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 | ||
5 | พระวิสดารดุลยะรัถกิจ | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2476[4] | พ.ศ. 2477 | ||
อธิบดีกรมรถไฟ | |||||
ลำดับ (สมัย) |
รูป | รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ |
1 | พันเอก พระอุดมโยธาธิยุต | 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2478[5] | 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 | ||
2 | พันโท หลวงเสรีเริงฤทธิ์ | 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479[6] | 10 มีนาคม พ.ศ. 2485 | ||
– | พันตรี ควง อภัยวงศ์ รักษาการในหน้าที่อธิบดี |
10 มีนาคม พ.ศ. 2485 | 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 | ||
3 | พลตรี จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ | 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2485[7] | 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2485 | ||
4 | พันตำรวจโท ชลอ ศรีธนากร | 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2485[8] | 17 กันยายน พ.ศ. 2486 | ||
5 | พลตรี พระอุดมโยธาธิยุต | 17 กันยายน พ.ศ. 2486 | 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 | ||
6 | จรูญ สืบแสง | 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 | 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 | ||
7 | ปุ่น ศกุนตนาค | 19 ธันวาคม พ.ศ. 2488[9] | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 | ||
8 | พลโท จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 | 30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 | ||
ผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย | |||||
ลำดับ (สมัย) |
รูป | รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ |
1 |
พลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 | 10 กันยายน พ.ศ. 2502 | ||
2 | พลเอก ไสว ไสวแสนยากร | 11 กันยายน พ.ศ. 2502 | 31 ธันวาคม พ.ศ. 2507 | ||
3 | พันเอก แสง จุละจาริตต์ | 1 มกราคม พ.ศ. 2508 | 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 | ||
4 | อะนะ รมยานนท์ | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 | 31 ธันวาคม พ.ศ. 2516 | ||
5 | พลโท ทวน สริกขกานนท์ | 1 มกราคม พ.ศ. 2517 | 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 | ||
6 | สง่า นาวีเจริญ | 8 มิถุนายน พ.ศ. 2519 | 30 เมษายน พ.ศ. 2522 | ||
7 | ธวัช แสงประดับ | 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 | 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 | ||
8 | บันยง ศรลัมพ์ | 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 | 30 กันยายน พ.ศ. 2529 | ||
9 | หิรัญ รดีศรี | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2529 | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2531 | ||
10 | เชิด บุณยะรัตนเวช | 11 ธันวาคม พ.ศ. 2531 | 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 | ||
11 | สมชาย จุละจาริตต์ | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2532 | 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 | ||
12 | สมหมาย ตามไท | 1 มีนาคม พ.ศ. 2535 | 29 สิงหาคม พ.ศ. 2537 | ||
13 | เสมอ เชาว์ไว | 30 สิงหาคม พ.ศ. 2537 | 30 กันยายน พ.ศ. 2539 | ||
14 | สราวุธ ธรรมศิริ | 3 กันยายน พ.ศ. 2539 | 15 มกราคม พ.ศ. 2545 | ||
15 | จิตต์สันติ ธนะโสภณ | 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 | พ.ศ. 2549 | ||
16 | ยุทธนา ทัพเจริญ | 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 | ||
17 | ประภัสร์ จงสงวน | 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 | ||
18 | วุฒิชาติ กัลยาณมิตร | 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 | 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560[10] | ||
19 | นิรุฒ มณีพันธ์ | 24 เมษายน พ.ศ. 2563[11] | 23 เมษายน พ.ศ. 2567 | ||
20 | จเร รุ่งฐานีย | 24 เมษายน พ.ศ. 2567 | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 | รักษาราชการแทนผู้ว่า | |
21 | วีริศ อัมระปาล | 17 กันยายน พ.ศ. 2567 | ปัจจุบัน | รักษาการตั้งแต่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งผู้บัญชาการรถไฟชั่วคราว
- ↑ ประกาศกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม เรื่อง ตั้งผู้บัญชาการรถไฟหลวง
- ↑ ประกาศ ปลด และตั้งผู้บัญชาการรถไฟหลวง
- ↑ ประกาศย้ายและตั้งผู้ทำการผู้บัญชาการรถไฟหลวง
- ↑ ประกาศกระทรวงเศรษฐการ เรื่อง ย้ายนายพันเอก พระอุดมโยธาธิยุทธมารับตำแหน่งอธิบดีกรมรถไฟ
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแต่งตั้งอธิบดีกรมรถไฟ
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิบดีกรมรถไฟ
- ↑ [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/D/052/1814.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องแต่งตั้งอธิบดี
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิบดีกรมรถไฟ
- ↑ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๐/๒๕๖๐ เรื่อง การปรับปรุงการบริหารงานของการรถไฟแห่งประเทศไทย ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอน ๕๖ ง พิเศษ หน้า ๑๔ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
- ↑ "นิรุฒ มณีพันธ์" เซ็นสัญญานั่งผู้ว่าการรถไฟฯ คนที่ 19