ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อเขตการปกครองของประเทศจีนเรียงตามดัชนีการพัฒนามนุษย์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือรายชื่อของเขตปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยรวมมณฑลทั้งหมด เขตปกครองตนเอง เทศบาลนคร และเขตบริหารพิเศษ เรียงตามดัชนีการพัฒนามนุษย์ โดยคู่ขนานกับ สาธารณรัฐจีน โดยตัวเลขดัชนีการพัฒนามนุษย์ของปี 2561 และ 2562 สำหรับเขตปกครองต่าง ๆ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีน มาจากดัชนีการพัฒนามนุษย์ส่วนภูมิภาค ซึ่งเผยแพร่ฐานข้อมูลนี้โดยมหาวิทยาลัยรัดเบาด์ไนเมเคิน การรายงานข้อมูลนี้จะไม่ครอบคลุมมาเก๊า ซึ่่งเป็นเขตบริหารพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีน แต่จะรายงานเฉพาะเขตการปกครองของจีนแผ่นดินใหญ่เท่านั้นซึ่งได้รับการจัดอันดับ ในลำดับจะเป็นตัวเลขค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์แต่ละเขตการปกครองและค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์โดยเฉลี่ยของประเทศจีนซึ่งให้ข้อมูลโดยสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ รายงานการดัชนีพัฒนามนุษย์จะมีรายงานสำหรับแผ่นดินใหญ่เท่านั้น

รายชื่อเขตบริหารตามดัชนีการพัฒนามนุษย์

[แก้]
เขตบริหารของสาธารณรัฐประชาชนจีนและไต้หวันตามดัชนีการพัฒนามนุษย์ (2562)
  สูงมาก (≥ 0.800)
  สูง (0.700 – 0.799)
  ปานกลาง (0.550 – 0.699)

ฐานข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์แต่ละเขตการปกครอง (ข้อมูลปี 2562)

[แก้]
อันดับที่ เขตการปกครอง / ค่าเฉลี่ยของประเทศ ดัชนีการพัฒนามนุษย์[1][2][3] ประเทศที่เปรียบเทียบได้[2][a]
การพัฒนาสูงมาก
 ฮ่องกง[b] 0.949 ธงของประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์
 มาเก๊า[b] 0.922[c]  ออสเตรีย
 ไต้หวัน[d] 0.916[e] ธงของประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก
1 ปักกิ่ง 0.904  สเปน
2 เซี่ยงไฮ้ 0.873  โปแลนด์
3 เทียนจิน 0.838  บรูไน
4 เจียงซู 0.803  มอริเชียส
การพัฒนาสูง
5 เจ้อเจียง 0.795  แอลเบเนีย
6 กวางตุ้ง 0.793
7 เหลียวหนิง 0.774  มาซิโดเนียเหนือ
8 มองโกเลียใน 0.771
9 ฝูเจี้ยน 0.769  โคลอมเบีย
เหอเป่ย์ 0.769
11 ฉงชิ่ง 0.768
12 ไห่หนาน 0.763  บราซิล
13 ซานซี 0.762
 จีน (ค่าเฉลี่ย)[f] 0.761
14 ชานตง 0.759  เอกวาดอร์
15 หูหนาน 0.755  อาเซอร์ไบจาน
16 ซานซี 0.752  มอลโดวา
17 จี๋หลิน 0.745  เลบานอน
18 เหอหนาน 0.742  ดอมินีกา
19 เจียงซี 0.741
20 อานฮุย 0.738 ธงของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
เหอเป่ย์ 0.738
22 เฮย์หลงเจียง 0.737  มองโกเลีย
23 เสฉวน 0.734  จาเมกา
24 ซินเจียงอุยกูร์ 0.732
25 กวางซี 0.728  ปารากวัย
หนิงเซี่ยหุย 0.728
การพัฒนาปานกลาง
27 ยูนนาน 0.691  คีร์กีซสถาน
28 ชิงไห่ 0.689  โมร็อกโก
29 กานซู 0.687
30 กุ้ยโจว 0.685
31 ทิเบต 0.608  วานูวาตู

หมายเหตุ

  1. เปรียบเทียบตามชุดข้อมูล แต่ไม่ได้ระบุในแหล่งข้อมูลต้นฉบับ
  2. 2.0 2.1 ฮ่องกงและมาเก๊าเป็นเขตปกครองพิเศษของสาธารณรัฐประชาชนจีน
  3. ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของมาเก๊าไม่ได้รวมอยู่ในฐานข้อมูลของฐานข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์ของภูมิภาค (SHDI) หรือรายงานประจำปีของสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ แต่ตามรายงานประจำปี 2564 ซึ่งเผยแพร่โดยบริการสถิติและสำมะโนของรัฐบาลเขตปกครองพิเศษมาเก๊า สำหรับดัชนีการพัฒนามนุษย์ของมาเก๊าจะอยู่ที่ 0.922 ในปี 2562[4]
  4. ไต้หวันอยู่ภายใต้การปกครองที่แยกออกจากกันโดยสาธารณรัฐจีน ซึ่งเป็นรัฐอิสระโดยพฤตินัยตั้งแต่ ปี 2493 แต่ถูกอ้างสิทธิ์โดยสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐจีนยังอ้างสิทธิ์ว่าจีนแผ่นดินใหญ่ยังเป็นอาณาเขตตามรัฐธรรมนูญ[5]
  5. ในฐานข้อมูลของดัชนีการพัฒนามนุษย์ส่วนภูมิภาคในปี 2561 ซึ่งดัชนีการพัฒนามนุษย์ของเขตการปกครองระดับแรกทุกแห่งของจีน (ยกเว้นมาเก๊า) ที่ได้รับนั้น ไต้หวันมีดัชนีการพัฒนามนุษย์อยู่ที่ 0.880[6]อย่างไรก็ตาม ฐานข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์สำหรับข้อมูลปี 2562 (ซึ่งเผยแพร่ปี 2564) ไต้หวันและฮ่องกงจะไม่รวมอยู่ในฐานข้อมูลของดัชนีการพัฒนามนุษย์ส่วนภูมิภาคระหว่างหน่วยงานของจีนอีกต่อไป[1] ในทางตรงกันข้าม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ที่เผยแพร่โดยสำนักสถิติของไต้หวันในรายงานปี 2562 และ 2563 แสดงเป็น 0.911 ในปี 2561 และ 0.916 ในปี 2562 ตามลำดับ[7][8] ซึ่งสาเหตุของความคลาดเคลื่อนเกิดจากการขาดข้อมูลระดับประเทศในฐานข้อมูลของสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติของไต้หวัน SHDI อ้างว่าการรวบรวมข้อมูลดัชนีการพัฒนามนุษย์สำหรับไต้หวันนั้นมาจากหน่วยงานอธิบดีงบประมาณ การบัญชี และสถิติของไต้หวัน[9]ในเฉพาะตารางนี้จะใช้แหล่งข้อมูลนี้เป็นข้อมูลหลัก
  6. ค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์นี้เจาะจงเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่เท่านั้น[10]

แนวโน้ม

[แก้]
ระดับ

การพัฒนาสูงมาก

  0.900 ขึ้นไป
  0.850–0.899
  0.800–0.849

การพัฒนาสูง

  0.750–0.799
  0.700–0.749

การพัฒนาปานกลาง

  0.650–0.699
  0.600–0.649
  0.550–0.599

  ไม่มีข้อมูล
ระดับ

การพัฒนาสูงมาก

  0.900–0.949

การพัฒนาสูง

  0.850–0.899
  0.800–0.849

การพัฒนาปานกลาง

  0.750–0.799
  0.700–0.749
  0.650–0.699
  0.600–0.649
  0.550–0.599
  0.500–0.549

การพัฒนาต่ำ

  0.450–0.499
  0.400–0.449
  0.350–0.399
  ไม่มีข้อมูล

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "Human Development Indices (5.0)- China". Global Data Lab. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
  2. 2.0 2.1 Permanyer, Iñaki; Smits, Jeroen (2019-03-07). "The Subnational Human Development Database". Scientific Data (ภาษาอังกฤษ). 6: 190038. doi:10.6084/m9.figshare.c.4353632.v1. PMC 6413757. PMID 30860498.
  3. Iñaki Permanyer; Smits, Jeroen (2019-03-12). "The Subnational Human Development Database". Scientific Data (ภาษาอังกฤษ). 6: 190038. Bibcode:2019NatSD...690038S. doi:10.1038/sdata.2019.38. ISSN 2052-4463. PMC 6413757. PMID 30860498.
  4. "Macau in Figures, 2021" (ภาษาอังกฤษ). 澳門統計暨普查局(DSEC). p. 4. สืบค้นเมื่อ 2021-06-09.
  5. "Taiwan Country Profile". World Affairs Journal (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-08-29.
  6. "GDL Area Database". Subnational Human Development Index (SHDI). สืบค้นเมื่อ 12 March 2021.
  7. "國情統計通報(第 019 號)" (PDF) (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). 4 February 2020. สืบค้นเมื่อ 26 January 2021.
  8. "國情統計通報(第 014 號)" (PDF) (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). 21 January 2021. สืบค้นเมื่อ 26 January 2021.
  9. Smits, J., Permanyer, I. (12 March 2019). "The Subnational Human Development Database. Sci Data 6, 190038". The Subnational Human Development Database. สืบค้นเมื่อ 11 March 2021.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  10. "Human Development Report 2020: Reader's Guide". United Nation Development Program. 2020. สืบค้นเมื่อ 12 March 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]