ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อฮอร์โมนในมนุษย์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อฮอร์โมนที่พบใน Homo sapiens การสะกดชื่อฮอร์โมนบางตัวในภาษาอังกฤษอาจไม่เป็นแบบแผนเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ในเขตอเมริกาเหนือและทั่วโลกใช้ estrogen, gonadotropin ในขณะที่การสะกดแบบบริติชยังคงรูปทวิอักษรแบบกรีกไว้ใน oestrogen และนิยมการสะกดแบบเก่าของ gonadotrophin (จาก trophē 'สารอาหาร, ปัจจัยยังชีพ' แทนที่จะเป็น tropē 'กลับกลาย, เปลี่ยนแปลง')

รายชื่อฮอร์โมน

[แก้]
SN ชื่อ อักษรย่อ ชนิด เนื้อเยื่อ เซลล์ ตัวรับ เนื้อเยื่อเป้าหมาย ส่งผลต่อ
1 อะดรีนาลีน/เอพิเนฟรีน EPI อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไตส่วนใน / ไทโรซีน แอดรีเนอจิกรีเซพเตอร์ เนื้อเยื่อเกือบทุกชนิด ความดันเลือด, การสลายไกลโคเจน, การย่อยไขมัน, ฯลฯ
2 เมลาโทนิน MT อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมไพเนียล ไพเนียลโลไซต์ / ทริปโทแฟน เมลาโทนินรีเซพเตอร์ ระบบประสาทส่วนกลางและเนื้อเยื่อส่วนปลาย นาฬิกาชีวภาพ
3 นอร์อะดรีนาลีน

(หรือ นอร์เอพิเนฟรีน)

NE อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไตส่วนใน / ไทโรซีน นอร์อะดรีเนอร์จิกรีเซพเตอร์ เนื้อเยื่อเกือบทุกชนิด ความดันเลือด, การสลายไกลโคเจน, การสลายไขมัน, ฯลฯ
4 ไตรไอโอโดไทโรนีน T3 อนุพันธ์ของกรดอะมิโน เนื้อเยื่อส่วนปลายของต่อมไทรอยด์ ไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เซลล์ / ไทโรซีน ไทรอยด์ฮอร์โมนรีเซพเตอร์ เกือบทุกเซลล์ในร่างกาย เพิ่มเมแทบอลิซึม
5 ไทร็อกซีน T4 อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ต่อมไทรอยด์ ไทรอยด์ฟอลลิคูลาร์เซลล์ / ไทโรซีน ไทรอยด์ฮอร์โมนรีเซพเตอร์ เกือบทุกเซลล์ใร่างกาย มีผลใกล้เคียงกับ T3 แต่ออกฤทธิ์อ่อนกว่า; ถูกเซลล์เป้าหมายเปลี่ยนไปเป็น T3
6 โดพามีน DA อนุพันธ์ของกรดอะมิโน ซับสแตนเชียไนกรา (ส่วนใหญ่) ฟีนิลอะลานีน / ไทโรซีน D1 และ D2 ทั่วทั้งร่างกาย รักษาระดับของ cAMP ในเซลล์, ทำงานตรงกันข้ามกับโพรแลกทิน
1 พรอสตาแกลนดิน PG ไอโคซานอยด์ ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ พรอสตาแกลนดินรีเซพเตอร์ การขยายหลอดเลือด
2 ลิวโคไตรอีน LT ไอโคซานอยด์ เลือด เม็ดเลือดขาว หน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน เพิ่มสภาพให้ซึมผ่านได้ของหลอดเลือด
3 พรอสตาไซคลิน PGI2 ไอโคซานอยด์ พรอสตาไซคลินรีเซพเตอร์ การขยายหลอดเลือด, ยับยั้งตัวกระตุ้นเกล็ดเลือด
4 ทรอมบ็อกเซน TXA2 ไอโคซานอยด์ เลือด เกล็ดเลือด ทรอมบ็อกเซนรีเซพเตอร์ การบีบหลอดเลือด, การรวมกลุ่มของเกล็ดเลือด
1 อะไมลิน

(หรือ ไอส์เลตอะไมลอยด์โพลิเพปไทด์)

IAPP เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์บีตาในตับอ่อน อะไมลินรีเซพเตอร์ ชะลอการทำให้กระเพาะอาหารว่าง, ยับยั้งการหลั่งสารจากระบบทางเดินอาหาร เพื่อลดการรับอาหารเข้าสู่ร่างกาย
2 แอนติมึลเลอเรียนฮอร์โมน

(หรือ มึลเลอเรียนอินฮิบิติงแฟกเตอร์/ฮอร์โมน)

AMH (หรือ MIF, MIH) เพปไทด์ อัณฑะ เซลล์เซอทอไล AMHR2 ยับยั้งการหลั่งโพรแลกทิน และไทโรโทรพิน-รีลีซิงฮอร์โมน จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
3 อะดิโพเนกติน Acrp30 เพปไทด์ เนื้อเยื่อไขมัน อะดิโพเนกตินรีเซพเตอร์ รักษาระดับกลูโคส
4 อะดรีโนคอติโคทรอปิกฮอร์โมน

(หรือ คอร์ติโคโทรปิน)

ACTH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า คอนิโคโทรพ อะดรีโนคอติโคทรอปิกฮอร์โมนรีเซพเตอร์ → cAMP การสังเคราะห์คอติโคสเตอรอยด์ (กลูโคคอติคอยด์และแอนโดรเจน) ของเซลล์ต่อมหมวกไตส่วนนอก
5 แองจิโอเทนซิโนเจน และ

แองจิโอเทนซิน

AGT เพปไทด์ ตับ แองจิโอเทนซินรีเซพเตอร์ → IP3 การบีบหลอดเลือด

การหลั่งอัลโดสเตอร์โรนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก ไดเพปซิน.

6 แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน

(หรือ วาโซเพรสซิน, อาร์จินีนวาโซเพรสซิน)

ADH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหลัง พาร์โวเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีเซลล์ในไฮโพทาลามัส
แมกโนเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
AVPRs, VACM-1 การสงวนน้ำที่ไต
ควบคุมการบีบหลอดเลือด
การหลั่ง ACTH ที่ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
7 เอเทรียลเนทริยูเรติกเพปไทด์

(หรือ เอทริโอเพปทิน)

ANP เพปไทด์ หัวใจ ANP รีเซพเตอร์cGMP เพิ่มการหลั่งโซเดียมและ GFR , ต้านการหดตัวของหลอดเลือดดำ, ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนเรนิน
8 เบรนเนทริยูเรติกเพปไทด์ BNP เพปไทด์ หัวใจ[ไม่แน่ใจ ] เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ NPR ลดความดันเลือด (แต่ในระดับที่อ่อนกว่า ANP) โดยการ:

ลดการหมุนเวียนเลือดและแรงต้านของหลอดเลือด ลดน้ำ โซเดียม และไขมันในเลือด

9 แคลซิโทนิน CT เพปไทด์ ต่อมไทรอยด์ เซลล์พาราฟอลลิคูลาร์ CT รีเซพเตอร์ → cAMP การสร้างกระดูก, ลดระดับ Ca2+ ในเลือด
10 โคเลซิสโตไคนิน CCK เพปไทด์ ดูโอดีนัม CCK รีเซพเตอร์ การหลั่งเอนไซม์ย่อยอาหารจากตับอ่อน
การหลั่งน้ำดีจากถุงน้ำดี
ระงับความอยากอาหาร
11 คอร์ติโคโทรพิน-รีลิสซิงฮอร์โมน CRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส CRF1 → cAMP การหลั่ง ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
12 คอร์ทิสแตติน CORT เพปไทด์ เปลือกสมอง เซลล์ประสาทยับยั้ง โซมาโตสแตตินรีเซพเตอร์ กดกิจกรรมทางระบบประสาท; เหนี่ยวนำการหลับแบบ slow wave; ลดการเคลื่อนไหวร่างกาย; กระตุ้น cation selective current ที่นอกเหนือการทำงานของโซมาโตสแตติน
13 เองเคฟาลิน เพปไทด์ ไต เซลล์โครมาฟฟิน โอพิออยด์รีเซพเตอร์ ความเจ็บปวด
14 เอนโดทีลิน เพปไทด์ เยื่อบุเส้นเลือด เซลล์เอนโดทีเลียม ET รีเซพเตอร์ การหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบในหลอดเลือดขนาดกลาง
15 อิริโทรโพอีทิน EPO เพปไทด์ ไต เซลล์เอกซ์ตราโกลเมอรูลาร์มีแซงเจียล EpoR กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
16 ฟอลลิเคิล-สติมูเลติงฮอร์โมน FSH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โกแนโดโทรพ FSH รีเซพเตอร์ → cAMP ในเพศหญิง: กระตุ้นการเจริญเต็มที่ของกราเฟียนฟอลลิเคิลในรังไข่.

ในเพศชาย: การสร้างสเปิร์ม, เสริมการทำงานของแอนโดรเจน-ไบดิงโปรตีนโดยเซลล์เซอทอไลในอัณฑะ

17 กาลานิน GAL เพปไทด์ ระบบประสาทส่วนกลางและทางเดินอาหาร GALR1, GALR2, และ GALR3 ควบคุมและยับยั้งศักย์ทำงานของเซลล์ประสาท
18 แกสตริอินฮิบิทอรีโพลิเพปไทด์ GIP เพปไทด์ ชั้นมูโคซาของดูโอดีนัมและเจจูนัม เซลล์เค GIPR ชักนำให้เกิดการหลั่งอินซูลิน
19 แกสตริน GAS เพปไทด์ กระเพาะอาหาร, ดูโอดีนัม G cell CCK2 การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารโดยเซลล์พารีทัล
20 กรีลิน เพปไทด์ กระเพาะ P/D1 cell กรีลินรีเซพเตอร์ กระตุ้นความอยากอาหาร,

การหลั่งโกรทฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า

21 กลูคากอน GCG เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์อัลฟา Glucagon receptor → cAMP การสลายไกลโคเจนและการสร้างกลูโคสในตับ

เพิ่มระดับกลูโคสในเลือด

22 กลูคากอนไลก์เพปไทด์-1 GLP1 เพปไทด์ ไอเลียม เซลล์แอล GLP1R, GLP2R เซลล์บีตาในตับอ่อน กระตุ้นวิถีอะดีนิลลิลไซเคลส ได้ผลเป็นการเพิ่มระดับการสร้างและการหลั่งอินซูลิน
23 โกแนโดโทรพินรีลิสซิงฮอร์โมน GnRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส GnRH รีเซพเตอร์ → IP3 การหลั่ง FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า.
24 โกรทฮอร์โมนรีลิสซิงฮอร์โมน GHRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส GHRH รีเซพเตอร์ → IP3 การหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
25 เฮพซิดิน HAMP เพปไทด์ ตับ เฟอโรพอทิน ยับยั้งการส่งธาตุเหล็กออกจากเซลล์
26 ฮิวแมนคอเรียนิกโกแนโดโทรพิน hCG เพปไทด์ รก เซลล์ซินไซทิโอโทรโฟบลาสต์ LH รีเซพเตอร์ → cAMP คงโครงสร้างคอร์พัสลูเทียมไว้ในช่วงแรก ๆ ของการตั้งครรภ์ ยับยั้งการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับตัวอ่อน
27 ฮิวแมนพลาเซนทัลแลกโทเจน HPL เพปไทด์ รก เพิ่มการหลั่ง อินซูลิน และ IGF-1

เพิ่มความต้านทานอินซูลินและการแพ้คาร์โบไฮเดรต

28 โกรทฮอร์โมน GH หรือ hGH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โซมาโทโทรพ GH รีเซพเตอร์ กระตุ้นพัฒนาการ และการสร้างเซลล์

การหลั่ง อินซูลิน-ไลก์โกรทแฟกเตอร์จากตับ

29 อินฮิบิน เพปไทด์ อัณฑะ, รังไข่, ฟีตัส เซลล์เซอร์ทอไลในอัณฑะ
เซลล์แกรนูโลซาในรังไข่
โทรโฟบลาสต์ในฟีตัส
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ยับยั้งการสร้าง FSH
30 อินซูลิน INS เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์บีตา อินซูลินรีเซพเตอร์, IGF-1, IGF-2 การนำเข้ากลูโคสจากเลือดสำหรับการสร้างไกลโคเจนและการสลายไกลโคเจน ที่ตับและกล้ามเนื้อ

การรับเข้าลิพิด และการสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์ในเซลล์ไขมัน Other anabolic effects

31 อินซูลินไลก์โกรทแฟกเตอร์

(หรือ โซมาโทมีดิน)

IGF เพปไทด์ ตับ เซลล์ตับ อินซูลินรีเซปเตอร์, IGF-1 ให้ผลคล้ายอินซูลิน

ควบคุมการเจริญและพัฒนาของเซลล์

32 เลพติน LEP เพปไทด์ เนื้อเยื่อไขมัน LEP-R ลดความอยากอาหาร และเพิ่มเมแทบอลิซึม
33 ลิโพโทรปิน LPH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า คอร์ติโคโทรพ การสลายไขมัน และการสร้างสเตียรอยด์,
กระตุ้นเมลาโนไซต์ใหผลิตเมลานิน
34 ลูทิไนซิงฮอร์โมน LH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โกแนโดโทรพ LHR → cAMP ในเพศหญิง: การตกไข่

ในเพศชาย: กระตุ้นการสร้างเทสทอสเทอโรนของเซลล์เลย์ดิก

35 เมลาโนไซต์สติมูเลติงฮอร์โมน MSH หรือ α-MSH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า/พาส์อินเทอร์มีเดีย เมลาโนทรอฟ เมลาโนคอร์ตินรีเซปเตอร์ → cAMP การสร้างเมลานินโดยเมลาโนไซต์ที่ผิวหนังและเส้นขน
36 โมทิลิน MLN เพปไทด์ ลำไส้เล็ก โมทิลินรีเซพเตอร์ กระตุ้นการทำงานของระบบย่อยอาหาร
37 โอเร็กซิน เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส OX1, OX2 เพิ่มความตื่นตัว การใช้พลังงาน และความอยากอาหาร
38 ออสทีโอแคลซิน OCN เพปไทด์ กระดูก ออสทีโอบลาสต์ Gprc6a กล้ามเนื้อ สมอง ตับอ่อน อัณฑะ สนับสนุนการทำงานของกล้ามเนื้อ, ความจำ, การสังเคราะห์เทสทอสเทอโรนและการใช้พลังงาน[1]
39 ออกซิโทซิน OXT เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหลัง แมกโนเซลลูลาร์นิวโรซิรีทอรีเซลล์ OXT รีเซพเตอร์ → IP3 การหลั่งน้ำนม

กระตุ้นการหดตัวของมดลูกและช่องคลอด เกี่ยวข้องกับความเสียวสุดยอดพางเพศ, ความเชื่อใจ,[2] และรักษานาฬิกาชีวภาพ (อุณหภูมิร่างกาย, ระดับกิจกรรม, ความตื่นตัว)[3]

40 แพนครีเอติกพอลิเพปไทด์ เพปไทด์ ตับอ่อน เซลล์พีพี pancreatic polypeptide receptor 1 ระบบบำรุงรักษาตัวเองของสารที่หลั่งจากตับอ่อน (เอนโดครินและเอกโซคริน) นอกจากนี้ยังมีผลต่อระดับไกลโคเจนในตับและสารที่หลั่งจากทางเดินอาหาร
41 พาราไทรอยด์ฮอร์โมน PTH เพปไทด์ ต่อมพาราไทรอยด์ พาราไทรอยด์ชีฟเซลล์ PTH รีเซพเตอร์ → cAMP เพิ่มระดับ Ca2+:

ลดระดับฟอสเฟตในเลือด (เล็กน้อย):

  • (ลดการดูดกลับที่ไตแต่เพิ่มการรับจากกระดูก
  • กระตุ้นวิตามินดี)
42 พิทูอิทารีอะดีนิลเลต"ซเคลสแอกทิเวติงเพปไทด์ PACAP เพปไทด์ เนื้อเยื่อหลายชนิด ADCYAP1R1, VIPR1, VIPR2 กระตุ้นเซลล์คล้ายเอนเทอโรโครมาฟฟิน
43 โพรแล็กทิน PRL เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า, มดลูก แลกโททรอฟของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
เซลล์เดซิดวลที่มดลูก
PRL รีเซพเตอร์ การสร้างนมจากต่อมน้ำนม
ความเสียวสุดยอดทางเพศหลังจากมีกิจกรรมทางเพศ
44 โพรแลกทินรีลิสซิงฮอร์โมน PRLH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส การหลั่งโพรแลกทินจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
45 รีแล็กซิน RLN เพปไทด์ คอร์พัสลูเทียม, มดลูก, รก, และต่อมน้ำนม เซลล์เดซิดวล RLN รีเซพเตอร์ ไม่ทราบแน่ชัดในมนุษย์
46 เรนิน เพปไทด์ ไต เซลล์จักซ์ตาโกลเมอรูลาร์ กระตุ้นระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน ด้วยการสร้าง angiotensin I ของแองจิโอเทนซิโนเจน
47 ซิครีทิน SCT เพปไทด์ ดูโอดีนัม เซลล์เอส SCT รีเซพเตอร์ การหลั่งไบคาร์บอเนตจากตับ, ตับอ่อน และต่อมบรุนเนอร์ที่ดูโอดีนัม

เสริมผลของโคเลซิสโทไคนิน หยุดการสร้างน้ำย่อย

48 โซมาโตสแตติน

(หรือ growth hormone–inhibiting hormone หรือ

growth hormone release–inhibiting hormone หรือ

somatotropin release–inhibiting factor หรือ somatotropin release–inhibiting hormone)

GHIH หรือ GHRIH หรือ SRIF หรือ SRIH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส, ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์, ระบบย่อยอาหาร เซลล์เดลตาในไอส์เลต
เซลล์นิวโรเอนโดครินที่พาราเวนทริคูลาร์นิวเคลียสของไฮโพทาลามัส
โซมาโตสแตตินรีเซพเตอร์ ยับยั้งการหลั่ง GH และ TRH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ระงับการหลั่งของฮอร์โมนแกสทริน, โคเลซิสโทไคนิน (CCK), ซิครีทิน, โมทิลิน, วาโซแอกทีฟอินเทสทินัลเพปไทด์ (VIP), แกสตริกอินฮิบิทอรีเพปไทด์ (GIP), เอนเทอโรกลูคากอน ในระบบทางเดินอาหาร
ลดอัตราการทำกระเพาะให้ว่าง

ลดการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบและการไหลของเลือดในลำไส้[4]
ยับยั้งการหลั่งอินซูลินจากเซลล์บีตา[5]
ยับยั้งการหลั่งกลูคากอนจากเซลล์อัลฟา[5]
กดการทำงานแบบเอกโซครินของตับอ่อน.

49 ทรอมโบโพอีทิน TPO เพปไทด์ ตับ, ไต, กล้ามเนื้อลาย เซลล์กล้ามเนื้อ TPO รีเซพเตอร์ เมกะคารีโอไซต์ สร้างเกล็ดเลือด[6]
50 ไทรอยด์-สติมูเลติงฮอร์โมน (หรือ ไทโรโทรพิน) TSH เพปไทด์ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ไทโรโทรพ ไทโรโทรพินรีเซพเตอร์ → cAMP ต่อมไทรอยด์ การหลั่งไทรอกซีน (T4) และ ไทรไอโอโดไทโรนีน (T3)
51 ไทโรโทรพิน-รีลิสซิงฮอร์โมน TRH เพปไทด์ ไฮโพทาลามัส พาร์โวเซลลูลาร์นิวโรซีครีทอรีนิวรอน TRHR → IP3 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งไทรอยด์-สติมูเลติงฮอร์โมน (หลัก)
กระตุ้นการหลั่งโพรแลกทิน
52 Vasoactive intestinal peptide VIP เพปไทด์ ลำไส้, ตับอ่อน, and ซูพราไคแอสมาติกนิวคลีไอของไฮโพทาลามัส วาโซแอกทีฟอินเทสทีนัลเพปไทด์รีเซพเตอร์ กระตุ้นความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ, เป็นสาเหตุของการขยายหลอดเลือด, เพิ่มการสลายไกลโคเจน, ลดความดันเส้นเลือดแดง และคลายกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม, กระเพาะอาหารและถุงน้ำดี
53 กัวนิลลิน GN เพปไทด์ ลำไส้ กัวนิลเลตไซเคลส 2C (ฮีทสเตเบิลเอนเทอโรทอกซินรีเซพเตอร์) รักษาระดับ อิเล็กโทรไลต์ และ การขนส่งน้ำ ที่เยื่อบุผิวไต
54 ยูโรกัวนิลลิน UGN เพปไทด์ เนื้อเยื่อไต กัวนิลเลตไซเคลส 2C (ฮีทสเตเบิลเอนเทอโรทอกซินรีเซพเตอร์) รักษาระดับ อิเล็กโทรไลต์ และ การขนส่งน้ำ ที่เยื่อบุผิวไต

สเตอรอยด์

[แก้]
ชื่อ ชั้นทางเคมี อักษรย่อ เนื้อเยื่อ เซลล์ ตัวรับ เนื่อเยื่อเป้าหมาย ส่งผลต่อ
เทสโทสเตอโรน แอนโดรเจน อัณฑะ, รังไข่ เซลล์เลย์ดิก AR ความรู้สึกทางเพศ, วิถีแอแนบอลิซึม: การเพิ่มมวลและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพิ่มความหนาแน่น ความแข็งแรง และมวลของกระดูก

Virilizing: การเจริญเต็มวัยของอวัยวะเพศ, การก่อตัวของถุงหุ้มอัณฑะ, ความต่ำทุ้มของเสียง, การงอกของขนรักแร้และหนวดเครา

ดีไฮโดรเอพิแอนโดรสเตอโรน แอนโดรเจน DHEA อัณฑะ, รังไข่, ไต เซลล์โซนาฟาสซิคูลาตาและเซลล์โซนาเรติคูลาริสในไต
เซลล์ทีกาในรังไข่
เซลล์เลย์ดิกในอัณฑะ
AR Virilization, วิถีแอแนบอลิซึม
แอนโดรสตีนไดโอน แอนโดรเจน ต่อมหมวกไต, ต่อมเพศ AR สารตั้งต้นสำหรับเอสโทรเจน
ไดไฮโดรเทสทอสเตอโรน แอนโดรเจน DHT เนื้อเยื่อหลายชนิด AR 5-DHT หรือ DHT เป็นฮอร์โมนในระบบสืบพันธ์เพศชายที่มีเป้าหมายเป็นต้อมลูกหมาก, ต่อมบัลโบยูรีทรัล, ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ, องคชาติและถุงหุ้มอัณฑะ ช่วยส่งเสริมการการเจริญเติบโต ไมโทซิส การเจริญเต็มที่และการแบ่งการทำงานของเซลล์ เทสโทสเทอโรนจะถูกเปลี่ยนไปเป็น 5-DHT โดย 5alpha-reductase โดยปกติจะเกิดขึ้นในเซลล์เป้าหมายของ 5-DHT เนื่องจากความต้องการ 5-DHT ในความเข้มข้นสูงเพื่อให้เกิดผลทางสรีรวิทยา
อัลโดสเตอโรน มิเนอรัลโลคอติคอยด์ ต่อมหมวกไตส่วนใน (โซนาโกลเมอรูโลซา) MR เพิ่มปริมาตรเลือดโดยเพิ่มการดูดกลับโซเดียมที่ไต (หน้าที่โดยหลัก),

การขับโพแทสเซียมและ H+ ที่ไต.

เอสทราไดออล เอสโทรเจน E2 เพศหญิง: รังไข่, เพศชาย: อัณฑะ เพศหญิง: เซลล์แกรนูโลซา, เพศชาย: เซลล์เซอร์ทอไล ER เพศหญิง:

โครงสร้างร่างกาย:

การจับลิ่มของเลือด:

การรักษาของเหลว:

ทางเดินอาหาร:

การทำงานของปอด:

เพศชาย: ป้องกันการอะพอพโทซิสของเซลล์สืบพันธ์[8]

เอสโทรน เอสโทรเจน รังไข่ เซลล์แกรนูโลซา, เซลล์ไขมัน ER
เอสไทรออล เอสโทรเจน E3 รก ซินไซทิโอโทรโฟบลาสต์ ER
คอร์ทิซอล กลูโคคอร์ทิคอยด์ ต่อมหมวกไตส่วนใน (เซลล์โซนาฟาสซิคูลาตา และเซลล์เรกติคูลาริส) GR กระตุ้นการสร้างกลูโคส

ยับยั้งการรับกลูโคสในกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อไขมัน การเคลื่อนย้ายกรดอะมิโนที่เนื้อเยื่อนอกตับ กระตุ้นการสลายไขมันในเนื้อเยื่อไขมัน ต้านการอักเสบ และกดภูมิคุ้มกัน

โพรเจสเทอโรน โพรเจสโทเจน รังไข่, ต่อมหมวกไต, รก (เมื่อมีการตั้งครรภ์) เซลล์แกรนูโลซา เซลล์ทีกาในรังไข่ PR ค้ำจุนการตั้งครรภ์:[9]

อื่น ๆ:

แคลซิไทรออล เซโคสเตอรอยด์ (1,25-dihydroxyvitamin D3) ผิวหนัง/ท่อไตส่วนต้น VDR รูปที่พร้อมทำงานของ วิตามิน D3

เพิ่มการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟตในทางเดินอาหารและไต ยับยั้งการหลั่ง PTH

แคลซิไดออล เซโคสเตอรอยด์ (25-hydroxyvitamin D3) ผิวหนัง/ท่อขดส่วนต้นของไต VDR รูปที่ยังไม่พร้อมทำงานของวิตามิน D3

อ้างอิง

[แก้]
  1. Karsenty G, Olson EN (March 2016). "Bone and Muscle Endocrine Functions: Unexpected Paradigms of Inter-organ Communication". Cell. 164 (6): 1248–1256. doi:10.1016/j.cell.2016.02.043. PMC 4797632. PMID 26967290.
  2. Kosfeld M, Heinrichs M, Zak PJ, Fischbacher U, Fehr E (June 2005). "Oxytocin increases trust in humans". Nature. 435 (7042): 673–6. Bibcode:2005Natur.435..673K. doi:10.1038/nature03701. PMID 15931222.
  3. "Scientific American Mind, "Rhythm and Blues"; June/July 2007; Scientific American Mind; by Ulrich Kraft". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-06. สืบค้นเมื่อ 2012-09-09.
  4. http://www.vivo.colostate.edu/hbooks/pathphys/endocrine/otherendo/somatostatin.html เก็บถาวร 2023-05-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Colorado State University - Biomedical Hypertextbooks - Somatostatin
  5. 5.0 5.1 Nosek, Thomas M. "Section 5/5ch4/s5ch4_17". Essentials of Human Physiology. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-24.
  6. Kaushansky K (May 2006). "Lineage-specific hematopoietic growth factors". The New England Journal of Medicine. 354 (19): 2034–45. doi:10.1056/NEJMra052706. PMID 16687716.
  7. Massaro D, Massaro GD (December 2004). "Estrogen regulates pulmonary alveolar formation, loss, and regeneration in mice". American Journal of Physiology. Lung Cellular and Molecular Physiology. 287 (6): L1154-9. doi:10.1152/ajplung.00228.2004. PMID 15298854.
  8. Pentikäinen V, Erkkilä K, Suomalainen L, Parvinen M, Dunkel L (May 2000). "Estradiol acts as a germ cell survival factor in the human testis in vitro". The Journal of Clinical Endocrinology and Metabolism. 85 (5): 2057–67. doi:10.1210/jcem.85.5.6600. PMID 10843196.
  9. 9.0 9.1 Placental Hormones[ลิงก์เสีย]
  10. Nosek, Thomas M. "Section 5/5ch9/s5ch9_13". Essentials of Human Physiology. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-24.
  11. Hould FS, Fried GM, Fazekas AG, Tremblay S, Mersereau WA (December 1988). "Progesterone receptor regulate gallbladder motility". The Journal of Surgical Research. 45 (6): 505–12. doi:10.1016/0022-4804(88)90137-0. PMID 3184927.