ออกซิโตซิน
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ออกซิโทซิน)
การอ่านออกเสียง | /ˌɒksɪˈtoʊsɪn/ |
---|---|
ข้อมูลทางสรีรวิทยา | |
เนื้อเยื่อต้นกำเนิด | ต่อมใต้สมอง |
เนื้อเยื่อเป้าหมาย | ทั่ว |
ตัวรับ | ตัวรับออกซิโทซิน (oxytocin receptor) |
ยับยั้ง | atosiban |
สารต้นกำเนิด | oxytocin/neurophysin I prepropeptide |
เมแทบอลิซึม | ตับและoxytocinaseอื่น |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
การจับกับโปรตีน | 30% |
การเปลี่ยนแปลงยา | ตับและoxytocinaseอื่น |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 1–6 นาที (ในหลอดเลือดดำ) ~2 ชั่วโมง (ทางจมูก)[1][2] |
การขับออก | น้ำดีและไต |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.000.045 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C43H66N12O12S2 |
มวลต่อโมล | 1007.19 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
ออกซิโตซิน (อังกฤษ: oxytocin, Oxt) เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน (peptide hormone) และนิวโรเปปไทด์ (neuropeptide) ปกติแล้วผลิตโดยนิวเคลียสพาราเวนทริคิวลาร์ (paraventricular nucleus) ของไฮโปทาลามัส และปล่อยโดยต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary)[3] ทำงานในการเชื่อมโยงทางสังคม การสืบพันธ์ในทั้งสองเพศ รวมถึงระหว่างและหลังการให้กำเนิดบุตร[4] ออกซิโตซินปล่อยสู่กระแสเลือดในรูปแบบของฮอร์โมนขณะตอบสนองต่อการยืดตัวของปากมดลูกและมดลูกระหว่างการคลอดบุตร และต่อการกระตุ้นที่หัวนมระหว่างให้นมบุตร[5] สิ่งนี้ช่วยในการให้กำเนิด, ในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมารดาและบุตร และในการผลิตน้ำนม[5][6] ออกซิโตซินถูกค้นพบโดย เฮนรี เดล (Henry Dale) ใน พ.ศ. 2449[7] รูปร่างของโมเลกุลถูกระบุใน พ.ศ. 2495[8] ออกซิโตซินยังถูกใช้เป็นยาที่ช่วยระหว่างคลอดบุตร[9][10][11]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Weisman O, Zagoory-Sharon O, Feldman R (2012). "Intranasal oxytocin administration is reflected in human saliva". Psychoneuroendocrinology. 37 (9): 1582–6. doi:10.1016/j.psyneuen.2012.02.014. PMID 22436536.
- ↑ Huffmeijer R, Alink LR, Tops M, Grewen KM, Light KC, Bakermans-Kranenburg MJ, Ijzendoorn MH (2012). "Salivary levels of oxytocin remain elevated for more than two hours after intranasal oxytocin administration". Neuro Endocrinology Letters. 33 (1): 21–5. PMID 22467107.
- ↑ Gray's Anatomy: The Anatomical Basis of Clinical Practice (41 ed.). Elsevier Health Sciences. 2015. p. 358. ISBN 978-0-7020-6851-5.
- ↑ Yang HP, Wang L, Han L, Wang SC (2013). "Nonsocial functions of hypothalamic oxytocin". ISRN Neuroscience. 2013: 179272. doi:10.1155/2013/179272. PMC 4045544. PMID 24967304.
- ↑ 5.0 5.1 Chiras DD (2012). Human Biology (7th ed.). Sudbury, MA: Jones & Bartlett Learning. p. 262. ISBN 978-0-7637-8345-7.
- ↑ Human Evolutionary Biology. Cambridge University Press. 2010. p. 282. ISBN 978-1-139-78900-4.
- ↑ Dale, H. H (1906). "On some physiological actions of ergot". The Journal of Physiology. 34 (3): 163–206. doi:10.1113/jphysiol.1906.sp001148. PMC 1465771. PMID 16992821.
- ↑ Corey E (2012). "Oxytocin". Molecules and Medicine. John Wiley & Sons. ISBN 978-1-118-36173-3.
- ↑ "Oxytocin: Summary". IUPHAR/BPS guide to pharmacology. International Union of Basic and Clinical Pharmacology. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-10-25. สืบค้นเมื่อ 14 December 2016.
Endogenous oxytocin is a hormone and neuropeptide, which plays a role in social bonding, sexual reproduction and is required during and after childbirth. Purified oxytocin is used clinically.
- ↑ "Oxytocin". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 1 June 2015.
- ↑ The Oxford Handbook of Prosocial Behavior. Oxford University Press. 2015. p. 354. ISBN 978-0-19-539981-3.