ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อพรรคการเมืองในประเทศอินเดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประเทศอินเดียมีระบบหลายพรรค คณะกรรมการเลือกตั้งอินเดีย (ECI) เป็นผู้รับรองพรรคการเมืองทั้งระดับชาติและระดับรัฐ พรรคการเมืองที่ได้รับการรับรองจะมีสัญลักษณ์พรรค,[a] ได้รับเวลาการถ่ายทอดสดโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายบนโทรทัศน์และวิทยุของรัฐ, มีส่วนร่วมในการเลือกวันเลือกตั้ง เป็นต้น

ในเอกสารล่าสุดจาก 23 กันยายน 2021 ของคณะกรรมการเลือกตั้งอินเดีย จำนวนพรรคทั้งหมดที่ขึ้นทะเบียนแล้วมีอยู่ 2858 พรรค ในจำนวนนี้เป็นพรรคระดับชาติ 8 พรรค, พรรคระดับรัฐ 54 พรรค และพรรคที่ไม่ได้รับการรับรอง 2796 พรรค[3]

พรรคระดับชาติ

[แก้]
8 พรรคระดับชาติ[3]
พรรค ธง อักษรย่อ ตำแหน่ง
ทางการเมือง
อุดมการณ์ ก่อตั้ง ได้รับการรับรอง
เป็นพรรคระดับชาติ
ผู้นำ สัญลักษณ์ จำนวนรัฐที่ครอง โลกสภา ราชยสภา สภานิติบัญญัติ
รัฐ
ที่นั่งในสภา
รัฐ
ออลอินเดียตริณมูลคองเกรส
AITC ซ้ายกลาง รัฐฆราวาส
ประชานิยม
หัวก้าวหน้า
1 มกราคม 1998
(26 ปีก่อน)
 (1998-01-01)
2 กันยายน 2016
(8 ปีก่อน)
 (2016-09-02)
มามาตา บาเนร์จี
(ประธาน)
1 / 31
25 / 543
13 / 245
235 / 4,036
0 / 426
พรรคพหุชนสมาช BSP ซ้ายกลาง ความเท่าเทึยม
ความยุติธรรม
รัฐฆราวาส
เคารพตนเอง
สิทธิมนุษยชน
14 เมษายน 1984
(40 ปีก่อน)
 (1984-04-14)
26 มกราคม 2013
(11 ปีก่อน)
 (2013-01-26)[4]
มายาวตี
(ประธาน)
0 / 31
10 / 543
1 / 245
7 / 4,036
1 / 426
พรรคภารตียชนตา BJP ขวากลาง, ขวา[5] ชาตินิยมฮินดู
มนุษยนิยมรวม
อนุรักษนิยม
อนุรักษนิยมทางสังคม
6 เมษายน 1980
(44 ปีก่อน)
 (1980-04-06)
เจ.พี. นัททา
(ประธาน)
19 / 31
301 / 543
99 / 245
1,411 / 4,036
110 / 426
พรรคคอมมิวนิสต์อินเดีย CPI ซ้าย คอมมิวนิสม์
มาร์กซิสม์-เลนนินนิสม์
26 ธันวาคม 1925
(98 ปีก่อน)
 (1925-12-26)
ดี. ราชา
(เลขาธิการใหญ่)
0 / 31
2 / 543
2 / 245
21 / 4,036
2 / 426
พรรคคอมมิวนิสต์อินเดีย (มาร์กซิสต์) CPI(M) ซ้าย คอมมิวนิสม์ 7 พฤศจิกายน 1964
(60 ปีก่อน)
 (1964-11-07)
สีตาราม เยชุรี
(เลขาธิการใหญ่)
1 / 31
3 / 543
5 / 245
88 / 4,036
0 / 426
คองเกรสแห่งชาติอินเดีย INC กลาง เต็นต์ใหญ่
ชาตินิยมพลเมือง
เสรีนิยม
รัฐฆราวาส
28 ธันวาคม 1885
(138 ปีก่อน)
 (1885-12-28)
โสนิยา คานธี
(ประธาน)
2 / 31
53 / 543
31 / 245
678 / 4,036
43 / 426
พรรคคคองเกรสชาตินิยม NCP ซ้ายกลาง เสรีนิยม
คานธีนิยม
10 มิถุนายน 1999
(25 ปีก่อน)
 (1999-06-10)
ชาราด ปวัร
(ประธาน)
0 / 31
5 / 543
3 / 245
59 / 4,036
11 / 426
พรรคประชาชนแห่งชาติ NPP กลาง ภูมิภาคนิยม
ชาติพันธ์ุเป็นศูนย์กลาง
6 มกราคม 2013
(11 ปีก่อน)
 (2013-01-06)
7 มิถุนายน 2019
(5 ปีก่อน)
 (2019-06-07)
คอนราด สังมา
(ประธาน)
1 / 31
1 / 543
1 / 245
33 / 4,036
0 / 426

พรรคระดับรัฐ

[แก้]
54 พรรคระดับรัฐ[3]
พรรค ธง อักษรย่อ ตำแหน่ง
ทางการเมือง
อุดมการณ์ ก่อตั้ง ผู้นำ รับรองใน Election
symbol
จำนวนรัฐที่นำ โลกสภา ราชยสภา สภานิติบัญญัติ
รัฐ
สภา
รัฐ
3 รัฐ พรรคอามอาทมี AAP กลาง, ซ้ายกลาง ชาตินิยมเศรษฐกิจ[6]
รัฐฆราวาส[7]
ชาตินิยม[8]
ภูมิใจในชาติ[9]
มนุษยนิยม[9]
2012 อรวินท์ เกชริวาล เดลี
ปัญจาบ
กัว
2 / 31
0 / 543
10 / 245
156 / 4,036
0 / 426
ชนตาดาล (ฆราวาส) JD(S) ซ้ายกลาง ประชาธิปไตยสังคม[10]
รัฐฆราวาส[10]
1999 เอช.ดี. เทเว โควทา อรุณาจัลประเทศ
กรณาฏกะ
เกรละ
0 / 31
1 / 543
1 / 245
34 / 4,036
13 / 426
ชนตาดาล (ยูไนเต็ด) JD(U) ซ้ายกลาง สังคมนิยม[11]
รัฐฆราวาส[11]
มนุษยนิยมรวม[12]
2003 นิตีศ กุมาร อรุณาจับประเทศ
พิหาร
มณีปุระ
1 / 31
16 / 543
5 / 245
52 / 4,036
23 / 426
2 รัฐ

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Names of National State, registered-unrecognised parties and the list of free symbols" (PDF). Election Commission of India. 12 March 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2015. สืบค้นเมื่อ 8 May 2015.
  2. "State Party List" (PDF). Election Commission of India. 13 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 February 2017.
  3. 3.0 3.1 3.2 "List of Political Parties & Symbol MAIN Notification". Election Commission of India. 23 September 2021.
  4. "Bsp Gets National Party Status, Janata Party Derecognised". Business Standard. 27 January 2013. สืบค้นเมื่อ 19 March 2022.
  5. "What is left-wing and right-wing politics?". Jagran Josh. 14 Oct 2020. สืบค้นเมื่อ 14 Oct 2020.
  6. Nikore, Mitali (15 January 2014), The populist politics of the Aam Aadmi Party, London School of Economics, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2016, สืบค้นเมื่อ 30 November 2016
  7. "AAP's vision of secularism: Big on intention, weak on substance - Politics News, Firstpost". 21 March 2014.
  8. *"AAP's ideological dilemma and tryst with tricolour nationalism". 12 March 2021. สืบค้นเมื่อ 17 May 2021.
  9. 9.0 9.1 "Extreme-Patriotism, Honesty and Humanism-three pillars of AAP, claims Kejriwal". The Economic Times. 29 March 2022.
  10. 10.0 10.1 "Janata Dal (Secular) JD(S)". elections.in. สืบค้นเมื่อ 3 September 2021.
  11. 11.0 11.1 "Lok Sabha Elections 2014: Know your party symbols!". Daily News and Analysis. 10 April 2014.
  12. About Janta Dal United (JDU). "Janta Dal United (JD(U)) – Party History, Symbol, Founders, Election Results and News". Elections.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 March 2017. สืบค้นเมื่อ 12 March 2017.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน