รถถังหลัก
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
รถถังหลัก (อังกฤษ: Main Battle Tank: MBT) คือ รถถังที่เป็นกำลังสำคัญในการรบ องค์ประกอบที่สำคัญคือ อำนาจการยิง(ความแม่นยำ อำนาจการทำลาย ความรวดเร็วในการใช้อาวุธ) ความคล่องตัว และการป้องกันตนเอง(เกราะ) โดยรถถังหลักจะต้องเป็นรถถังที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 37-65 ตันขึ้นไป และสามารถติดปืนใหญ่ตั้งแต่ขนาด 90-125 มม.
ประวัติศาสตร์
[แก้]สงครามเย็น
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สงครามอสมมาตร
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
-
รถถังที-64
-
รถถังเช็นจูเรี่ยน มาร์ค.3
-
โมเดลแสดงโชว์ เอ็ม60 แพทตัน
รายชื่อรถถังหลักแบ่งตามยุค
[แก้]ยุคที่ 1
[แก้]รถถังหลักในยุคแรกจะประกอบไปด้วยรถถังกลางที่ออกแบบและผลิตโดยตรงหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับการนิยามใหม่ต่อมาเป็นรถถังหลัก
ชื่อรถถัง | ปีที่เริ่มประจำการ | ผู้ใช้งานเดิม | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
เซ็นจูเรียน[1][2] | 1945 | สหราชอาณาจักร | เป็นรถถังลาดตระเวนที่ถูกพัฒนามาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นรถถังหลักแบบแรกที่ถูกพัฒนาขึ้น |
ที-54[1][2] | 1947 | สหภาพโซเวียต | |
เอ็ม48 แพตตัน | 1953 | สหรัฐ | |
ที-55[1][2] | 1958 | สหภาพโซเวียต | ปรับปรุงจาก รถถัง T-54 |
ไทป์ 59[1] | 1959 | จีน | ผลิตภายใต้สิทธิบัตรของรถถัง T-54 |
ไทป์ 61[1] | 1961 | ญี่ปุ่น |
ยุคที่ 2
[แก้]รถถังหลักในยุคที่สองนั้นได้เพิ่มความสามารถในการต่อสู้ในเวลาคืน
ชื่อรถถัง | ปีที่เริ่มประจำการ | ผู้ใช้งานเดิม | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
ที-62[1][2] | 1961 | สหภาพโซเวียต | มีพื้นฐานมาจากรถถัง T-55 เป็นรถถังแบบแรกของโลกที่ใช้ปืนใหญ่รถถังแบบลำกล้องเรียบเป็นอาวุธหลัก |
เอ็ม60 แพตตัน | 1961 | สหรัฐ | |
เลพเพิร์ด 1[1][2] | 1965 | เยอรมนีตะวันตก | |
แพนเซอร์ 61[1] | 1965 | สวิตเซอร์แลนด์ | |
ที-64[1] | 1966 | สหภาพโซเวียต | รถถังแบบแรกของโลกที่ใช้เกราะแบบคอมโพสิต |
เอเอ็มเอ็กซ์-30[1][2] | 1966 | ฝรั่งเศส | |
ชีฟเทน[1][2] | 1966 | สหราชอาณาจักร | ติดอาวุธด้วยปืนใหญ่ขนาด 120 มม. แบบ Royal Ordnance L11A5 |
วิคเกอร์ เอ็มบีที[1] | 1967 | สหราชอาณาจักร | รถถังที่ร่วมพัฒนาระหว่างอินเดียและสหราชอาณาจักร ในชื่อVijayanta |
Stridsvagn 103[1][2] | 1968 | สวีเดน | รถถังหลักแบบไร้ป้อมปืนแบบเดียวในโลก ประจำการโดยสวีเดน |
ที-72[ต้องการอ้างอิง] | 1973 | สหภาพโซเวียต | เป็นรถถังที่ได้รับการพัฒนาอยู่ตลอด จึงถูกจัดอยู่ในรถถังยุคที่ 2.5 ในบางตำรา[1] |
โอลิแฟนท์[ต้องการอ้างอิง] | 1974 | แอฟริกาใต้ | ปรับปรุงต่อยอดมาจากรถถังเซ็นจูเรี่ยน |
ไทป์ 74[ต้องการอ้างอิง] | 1975 | ญี่ปุ่น | |
เมอร์คาวา I[ต้องการอ้างอิง] | 1978 | อิสราเอล | |
โอเอฟ-40 | 1981 | อิตาลี | |
Tanque Argentino Mediano[ต้องการอ้างอิง] | 1983 | อาร์เจนตินา | |
ไทป์ 69/79 | 1983 | จีน | มีพื้นฐานมาจากรถถัง Type 59 |
เอ็ม-84 | 1984 | ยูโกสลาเวีย | รถถังที-72 รุ่นต่อยอดของยูโกสลาเวีย |
Ch'onma-ho | 1980s | สหภาพโซเวียต / เกาหลีเหนือ | รถถังที่เกาหลีเหนือได้รับสิทธิบัตรการผลิตของ T-62 ต่อมาได้มีออกมาอีกหลายรุ่น |
ไทป์ 88 | 1980s | จีน | รวมไปถึงรถถัง Type 80 และ Type 85 |
ยุคที่ 3
[แก้]รถถังหลักในยุคที่3นั้นสามารถยิงกระสุนจรวดต่อสู้รถถังนำวิถีด้วยแสงเลเซอร์จากลำกล้องปืนใหญ่ได้ ทั้งยังมีระบบควบคุมการยิงแบบดิจิทัล มีกล้องเล็งและตรวจการณ์ทั้งผู้บัญชาการรถ และพลยิงที่ใช้กล้องแบบจับภาพด้วยรังสีความร้อน มีเกราะป้องกันทั้งที่เป็นแบบเชิงรับ สร้างเป็นตัวรถ และป้อมปืน
ชื่อรถถัง | ปีที่เริ่มประจำการ | ผู้ใช้งานเดิม | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
ที-80[1][3] | 1976 | สหภาพโซเวียต | รถถังที่ใช้เครื่องยนต์เทอร์ไบน์แบบแรกของโลก |
เลพเพิร์ด 2[1][3] | 1979 | เยอรมนีตะวันตก | |
MBT-80 | 1979 | สหราชอาณาจักร | เป็นรถถังต้นแบบ แต่ไม่ได้เข้าประจำการ |
เอ็ม1 เอบรามส์[1][3] | 1980 | สหรัฐ | |
ชาลเลนเจอร์ 1[1][3] | 1983 | สหราชอาณาจักร | |
M-84 | 1984 | ยูโกสลาเวีย | |
อีอี ที1 โอโซริโอ | 1985 | บราซิล | เป็นรถถังต้นแบบ แต่ไม่ได้เข้าประจำการในกองทัพบกบราซิล |
เค1 | 1987 | เกาหลีใต้ | |
เมอร์คาวา III[3] | 1989 | อิสราเอล | |
ไทป์ 90[3] | 1990 | ญี่ปุ่น | |
Pokpung-ho | 1992 | เกาหลีเหนือ | |
เอเอ็มเอ็กซ์ เลอแคลซ์[3] | 1993 | ฝรั่งเศส | |
ซัลฟิการ์ | 1993 | อิหร่าน | รถถังของอิหร่าน ที่ได้รวมความสามารถจากรถถัง T-72 และ M60 Patton. รถถังซุลฟิการ์ 3 คือรุ่นที่รับการพัฒนาสูงสุด |
พีที-91[ต้องการอ้างอิง] | 1995 | โปแลนด์ | |
ซี-1 อาเรียเต้[3] | 1995 | อิตาลี | |
เค1เอ1 | 1996 | เกาหลีใต้ | |
ที-90A[3] | 1996 | รัสเซีย | พัฒนามาจากรถถังที-72 |
Stridsvagn 122 | 1997 | สวีเดน | พัฒนามาจากรถถังเลพเพิร์ด 2 |
ไทป์ 96 | 1997 | จีน | |
ชาลเลนเจอร์ 2[3] | 1998 | สหราชอาณาจักร | |
ที-84 | 1999 | ยูเครน | พัฒนามาจากรถถังที-80 |
ไทป์ 98/99 | 2001 | จีน | |
อัล-คาลิด | 2001 | ปากีสถาน/ จีน | |
Centurion Olifant Mk 2 | 2003 | แอฟริกาใต้ | รถถังรุ่นต่อยอดจากรถถัง Olifant Mk 1 |
T-72M4 CZ[4] | 2003 | เช็กเกีย | รถถัง ที-72 รุ่นอัพเกรดโดยเช็กเกีย |
อาจัน | 2004 | อินเดีย |
ความก้าวหน้ายุคที่ 3 และยุคต่อไป
[แก้]เมื่อรถถังหลักในยุคที่3ไปเปลี่ยนเป็นยุคต่อไป จะทำให้รถถังหลักในยุคที่4 มีระบบขับเคลื่อนที่สามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ด้วยความเร็วเท่ากันด้วยระบบ ที่เรียกว่า Continuously Variable Transmission หรือ (CVT) มีระบบโหลดกระสุนอัตโนมัติ มีระบบดูดซับแรงเมื่อทำการยิงที่ดีเยี่ยมทำให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขณะยิงได้ มีระบบกล้องรอบทิศทางรอบป้อมและรถ 360 องศาโดยไม่มีจุดอับสายตา สามารถใช้โหมดความร้อนและกล้องกลางคืนได้ทุกมุมมองรอบรถถัง และมีระบบโครงข่ายสื่อสารกับศูนย์บัญชาการได้จากในตัวรถถังเอง
Advanced Third Generation and Next Generation
ชื่อรถถัง | ปีที่เริ่มประจำการ | ผู้ใช้งานเดิม | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
Merkava Mk IVm Windbreaker | 2011 | อิสราเอล | Adv. 3rd with Active Protection (operational from 2011) |
Type 99A2[5][6] | 2009 | จีน | "Enhanced Third Generation Main Battle Tank" |
T-90MS[7] | 2011 | รัสเซีย | Adv. 3rd |
ไทป์ 10[8][9] | 2012 | ญี่ปุ่น | 4th Generation |
เค2 แบล็คแพนเธอร์[8][10] | 2014 | เกาหลีใต้ | Adv. 3rd |
Leopard 2A7+ | 2014 | เยอรมนี | Adv. 3rd |
VT-4 | 2014 | จีน | 3rd Generation Advanced |
T-14 Armata | 2015 | รัสเซีย | 4th Generation of RAF[11] MBT derived from "Armata" modular platform |
อยู่ระหว่างการพัฒนา
[แก้]รถถังที่อยู่ระหว่างการพัฒนาเพื่อเข้าประจำการ
- / อัล-คาลิด-II: มีแผนให้เสร็จในปี 2012[12]
- ซีเอสยู-152:[13] - อยู่ระหว่างการทดสอบต้นแบบ
- ไทป์ 99เคเอ็ม[ต้องการอ้างอิง]
- Main Battle Tank 3000: วางแผนใช้ในปี 2014
- T-99 Armata: มีแผนให้เสร็จในปี 2015
- Leopard 2A7+ - เยอรมนี มีแผนอัพเกรด โมดูลล่าจากรถถัง เลพเพิร์ด 2 ที่มีอยู่
- Altay MBT - รถถังตัวต้นแบบอยู่ในช่วงทดสอบ
- Leopard 2NG - ASELSAN ตุรกีอัพเกรดรถถัง เลพเพิร์ด 2 ที่มีอยู่ในกองทัพ [14] [15]
- T-90MS: อัพเกรดโดยผสมผสานระหว่าง T-90M และ T-90S
- M-84AS: อัพเกรดต่อจากรถถัง M-84 โดย เซอร์เบีย
- M1A3 Abrams: พัฒนาจาก M1A2
- M60-2000 Patton:[ต้องการอ้างอิง]
- M-95 Degman: อยู่ระหว่างการพัฒนา
- MBT Arjun Mk-II:[16] - รถถังตัวต้นแบบอยู่ในช่วงทดสอบ
- Type 99A2: กำลังอัพเกรดจาก ไทป์ 99 A1 ถือว่าเป็นรถถังในยุคที่ 3
ดูเพิ่ม
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อHilmesPage7
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 Pancerni.net 1 เก็บถาวร 2009-02-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[แหล่งอ้างอิงอาจไม่น่าเชื่อถือ]
- ↑ 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 Pancerni.net 2 เก็บถาวร 2012-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[แหล่งอ้างอิงอาจไม่น่าเชื่อถือ]
- ↑ "Tank T-72M4 CZ" (ภาษาเช็ก). Army of the Czech Republic official website. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-05. สืบค้นเมื่อ December 14, 2015.
- ↑ "Type 99A2", China military, Global security.
- ↑ APA PLA AFV, Aus air power.
- ↑ "T-90MS Tagil Main battle tank". Military-Today.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-18. สืบค้นเมื่อ December 14, 2015.
- ↑ 8.0 8.1 "Competition Tank Asian countries: China Satellite Compass may be supported 99A2". Military of China, force comment. August 31, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-23. สืบค้นเมื่อ 2013-10-18.
- ↑ "The world's top 10 main battle tanks". Army technology. 28 November 2013. สืบค้นเมื่อ February 25, 2014.
- ↑ "K2 Black Panther Main Battle Tank, South Korea". Army technology. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
- ↑ Naryshkin, Alexei (26 January 2015). "Platform Armata and other samples of armored vehicles". Echo. RU: MSK. สืบค้นเมื่อ 8 April 2015.
- ↑ http://www.defensenews.com/story.php?i=4046009[ลิงก์เสีย]
- ↑ http://www.janes.com/articles/Janes-Armour-and-Artillery/Chinese-CSU-152-MBT-China.html
- ↑ http://www.aselsan.com/content.aspx?mid=375&oid=584
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-05. สืบค้นเมื่อ 2014-03-01.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-08. สืบค้นเมื่อ 2013-10-18.