ข้ามไปเนื้อหา

ยูฟ่าเนชันส์ลีก 2021 รอบชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าเนชันส์ลีก 2021 รอบชิงชนะเลิศ
ซานซีโร ใน มิลาน เป็นเจ้าภาพในรอบชิงชนะเลิศ.
รายการยูฟ่าเนชันส์ลีก 2021 รอบสุดท้าย
วันที่10 ตุลาคม ค.ศ. 2021
สนามซานซีโร, มิลาน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
การีม แบนเซมา (ฝรั่งเศส)[1]
ผู้ตัดสินแอนโธนี เทย์เลอร์ (อังกฤษ)[2]
ผู้ชม31,511 คน[3]
สภาพอากาศกลางคืนสดใส
12 °C (54 °F)
57% ความชื้นสัมพัทธ์[4]
2019
2023

ยูฟ่าเนชันส์ลีก 2021 รอบชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันฟุตบอลเพื่อตัดสินหาทีมชนะเลิศจากรอบสุดท้ายของการแข่งขันยูฟ่าเนชันส์ลีก ฤดูกาล 2020–21 โดยเป็นรอบชิงชนะเลิศครั้งที่สองของการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติที่เกี่ยวข้องกับทีมชาติของสมาคมในยูฟ่า. การแข่งขันมีขึ้นในวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 2021 ที่ซานซีโรในมิลาน ประเทศอิตาลี และเป็นการพบกันระหว่างสเปน และ ผู้ชนะของรอบรองชนะเลิศ คู่ที่สอง.[5]

ฝรั่งเศสชนะในนัดนี้ด้วยสกอร์ 2–1 ส่งผลให้พวกเขาคว้าแชมป์ยูฟ่าเนชันส์ลีกได้เป็นสมัยแรก.

สนามแข่งขัน

[แก้]

นัดชิงชนะเลิศจะลงเล่นที่ ซานซีโร ใน มิลาน, รังเหย้าของ มิลาน และ อินเตอร์ มิลาน.

ภูมิหลัง

[แก้]

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
สเปน รอบ ฝรั่งเศส
คู่แข่งขัน ผล ลีก คู่แข่งขัน ผล
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 1–1 (A) นัดที่ 1 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 1–0 (A)
ธงชาติยูเครน ยูเครน 4–0 (H) นัดที่ 2 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 4–2 (H)
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 1–0 (H) นัดที่ 3 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 0–0 (H)
ธงชาติยูเครน ยูเครน 0–1 (A) นัดที่ 4 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 2–1 (A)
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 1–1 (A) นัดที่ 5 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 1–0 (A)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 6–0 (H) นัดที่ 6 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 4–2 (H)
ชนะเลิศกลุ่ม เอ4
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 ธงชาติสเปน สเปน (A) 6 11
2 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (X) 6 9
3 ธงชาติยูเครน ยูเครน 5 6
4 ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 5 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020. แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (X) ไม่สามารถตกชั้น
ตารางคะแนน ชนะเลิศกลุ่ม เอ3
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (A) 6 16
2 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 6 13
3 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 6 3
4 ธงชาติสวีเดน สวีเดน (R) 6 3
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (R) ตกชั้น
คู่แข่งขัน ผล เนชันส์ลีกรอบสุดท้าย คู่แข่งขัน ผล
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 2–1 รอบรองชนะเลิศ ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 3–2

การแข่งขัน

[แก้]

รายละเอียด

[แก้]
สเปน[4]
ฝรั่งเศส[4]
GK 23 อูไน ซิมอน
RB 2 เซซาร์ อัซปิลิกูเอตา
CB 19 แอมริก ลาปอร์ต โดนใบเหลือง ใน 86th นาที 86'
CB 12 เอริก การ์ซิอา
LB 17 มาร์โกส อาลอนโซ
CM 9 กาบิ Substituted off in the 75th นาที 75'
CM 5 เซร์ฆิโอ บุสเกตส์ (กัปตัน)
CM 16 โรดริ Substituted off in the 84th นาที 84'
RF 11 เฟร์รัน ตอร์เรส Substituted off in the 84th นาที 84'
CF 22 ปาโบล ซาราเบีย Substituted off in the 61st นาที 61'
LF 21 มิเกล โอยาร์ซาบัล
ผู้เล่นสำรอง:
FW 7 เยเรมิ ปิโน Substituted on in the 61st minute 61'
MF 8 โกเก Substituted on in the 75th minute 75'
MF 20 มิเกล เมริโน Substituted on in the 84th minute 84'
MF 18 ปาโบล ฟอร์นัลส์ Substituted on in the 84th minute 84'
ผู้จัดการทีม:
ลุยส์ เอนริเก
GK 1 อูว์โก โยริส (กัปตัน)
CB 5 ฌูล กูนเด โดนใบเหลือง ใน 55th นาที 55'
CB 4 ราฟาแอล วาราน Substituted off in the 43rd นาที 43'
CB 3 แพร็สแนล กีมแปมเบ
RM 2 แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์ Substituted off in the 79th นาที 79'
CM 6 ปอล ปอกบา โดนใบเหลือง ใน 46th นาที 46'
CM 8 เอาเรเลียง ทีโชอูอาเมนี
LM 22 เตโอ แอร์น็องแดซ
AM 7 อ็องตวน กรีแยซมาน Substituted off in the 90+2nd นาที 90+2'
CF 19 การีม แบนเซมา
CF 10 กีลียาน อึมบาเป โดนใบเหลือง ใน 90th นาที 90'
ผู้เล่นสำรอง:
DF 15 ดาโย อูว์ปาเมกาโน Substituted on in the 43rd minute 43'
DF 12 เลโอ ดูบัวส์ Substituted on in the 79th minute 79'
MF 17 โฌร์ด็อง แวร์ตูต์ Substituted on in the 90+2nd minute 90+2'
ผู้จัดการทีม:
ดีดีเย เดช็อง

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
การีม แบนเซมา (ฝรั่งเศส)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Gary Beswick (อังกฤษ)
Adam Nunn (อังกฤษ)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Craig Pawson (อังกฤษ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Stuart Burt (อังกฤษ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Stuart Attwell (อังกฤษ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:
Chris Kavanagh (อังกฤษ)
Lee Betts (อังกฤษ)
Pol van Boekel (เนเธอร์แลนด์)

กฎการแข่งขัน[6]

  • 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • ตัวสำรองของแต่ละทีมมีรายชื่อ 12 คน
  • แต่อาจใช้เปลี่ยนได้สูงสุด 5 คน กับคนที่หกอนุญาตในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 1]

สถิติ

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. Each team will be given only three opportunities to make substitutions, with a fourth opportunity in extra time, excluding substitutions made at half-time, before the start of extra time and at half-time in extra time.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "Spain 1–2 France: Les Bleus seal trophy with another comeback". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  2. 2.0 2.1 "English ref Anthony Taylor and his team to take charge of Spain v France in Milan". The Football Association. 8 October 2021. สืบค้นเมื่อ 8 October 2021.
  3. 3.0 3.1 "Full Time Report – Final – Spain v France" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Tactical Line-ups – Final – Spain v France" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.
  5. "UEFA Nations League finals: all you need to know". UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 July 2021. สืบค้นเมื่อ 6 October 2021.
  6. "Regulations of the UEFA Nations League, 2020/21" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 13 October 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2020. สืบค้นเมื่อ 13 October 2019.
  7. 7.0 7.1 7.2 "Team statistics – Final – Spain v France" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 October 2021. สืบค้นเมื่อ 10 October 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]